โครงการติดตั้งและบำรุงรักษาอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ในระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก (Solar Rooftop)

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และการไฟฟ้านครหลวง ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ โครงการติดตั้งและบำรุงรักษาอุปกรณ์ประหยัดพลังงานในระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก (Solar Rooftop) เพื่อสนองนโยบายภาครัฐในการลดการใช้พลังงานในหน่วยงานของรัฐลง 15% โดยการใช้พลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือกให้เพิ่มขึ้น โดยมีการสำรวจ การออกแบบ การติดตั้ง การบำรุงรักษา จนเสร็จสิ้นโครงการรวมถึงมหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้การสนับสนุนในเชิงข้อมูลประกอบ เช่น ขนาดพื้นที่ ขนาดและรูปแบบของระบบไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยแต่ละอาคาร รวมถึงการประสานงานภายในและภายนอกองค์กร และร่วมกันออกแบบพัฒนาหลักสูตรด้านพลังงานทดแทน โดยการติดตั้ง Solar Rooftop on Grid ครอบคลุมทุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จำนวน 9 แห่ง ทั้งในกรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุพรรณบุรี ศูนยการศึกษาลำปาง นครนายก หัวหิน และตรัง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตที่มีนโยบายมุ่งไปสู่ความเป็น Green University ภายใต้ทิศทางของมหาวิทยาลัย Small but Smart : จิ๋วแต่แจ๋ว โดยมีระยะสัญญา 20 ปี

ขั้นตอนการดำเนินการโครงการผลการดำเนินโครงการ
จัดตั้งคณะการร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยสวนดุสิตกับการไฟฟ้านครหลวงเพื่อประเมินความเสี่ยงตลอดทั้งโครงการและมีการประชุมกันทุก 3 เดือนมหาวิทยาลัยแต่งตั้ง จป.หัวหน้างานเพื่อรับผิดชอบดูแล ควบคุมงาน ทั้ง 9 แห่งการไฟฟ้านครหลวงจัดทำคู่มือความปลอดภัยและมาตรฐานการติดตั้ง Solar Rooftop  มอบให้กับมหาวิทยาลัยการไฟฟ้านครหลวงต้องทำการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบ Solar Rooftop ให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยการไฟฟ้านครหลวงมีอุปกรณ์ป้องกันเพลิงไม้ ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบป้องกันการไหลย้อนของกระแสไฟฟ้าอุปกรณ์ แจ้งเตือน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินมีระบบการติดตามการผลิตไฟฟ้า การใช้พลังงานไฟฟ้าและระบบแสดงผลแบบ Real Time ทั้ง 9 แห่งมีระบบ CCTV เพื่อตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย 24 ชั่วโมงทุกจุดติดตั้งมีบิลค่าไฟฟ้าแยกกันระหว่างการผลิตไฟฟ้าจาก Solar Rooftop กับบิลค่าไฟฟ้าจากสายส่งมีการดูและ บำรุงรักษา ซ่อมแซมอุปกรณ์ ตลอดอายุสัญญา โดยการไฟฟ้านครหลวงเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องค่าใช้จ่ายทั้งหมด มีการเปลี่ยนอุปกรณ์เพื่อให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอนาคต มีการเปลี่ยนแปลงสัญญา เมื่อมีการเพิ่มหรือลดการติดตั้งจากสัญญาเดิมมีการทำประกันภัยไว้ตลอดอายุโครงการมีการลงนามความร่วมมือทางวิชาการโครงการให้บริการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา โดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิตและผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2566มีการสำรวจพื้นที่  ออกแบบและประเมินและคำนวณความคุ้มค่าของโครงการมีการรายงานข้อเสนอและขออนุมัติงบประมาณโครงการจากผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงมีการประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ ร่างสัญญา ข้อตกลงและเป้าหมาย ระหว่างเจ้าหน้าที่การไฟฟ้า นครหลวง และมหาวิทยาลัยเป็นระยะๆ  

การสำรวจการติดตั้ง : รวมขนาดการติดตั้งทั้งหมด  3,765.20 kWp หรือ 3.76520 MWp

สถานที่ดำเนินการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop)

การเชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)

สถานที่ขนาดติดตั้ง (kWp)คาดการณ์ผลผลิตจากโปรแกรม PVsyst (kWp/year)
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต1,406.801,870,557.00
ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี252.00334,525.00
บัณฑิตวิทยาลัย79.20100,537.00
อาคาร ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน108.00140,965.00
รวม1,846.002,446,584.00

การเชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)

สถานที่ขนาดติดตั้ง (kWp)คาดการณ์ผลผลิตจากโปรแกรม PVsyst (kWp/year)
วิทยาเขตสุพรรณบุรี956.401,326,946.00
ศูนย์การศึกษาลำปาง520.80734,027.00
ศูนย์การศึกษานครนายก157.60222,528.00
ศูนย์การศึกษาหัวหิน144.00196,947.59
ศูนย์การศึกษาตรัง140.40200,037.00
รวม1,919.202,680,485.59

ค่าบริการตลอดอายุสัญญา 20 ปี

สถานที่ค่าบริการตลอดอายุสัญญา (ไม่รวมภาษีมุลค่าเพิ่ม)
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต110,110,422.00
ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี19,691,829.00
บัณฑิตวิทยาลัย5,918,116.00
อาคาร ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน8,297,924.00
วิทยาเขตสุพรรณบุรี78,110,740.00
ศูนย์การศึกษาลำปาง43,208,536.00
ศูนย์การศึกษานครนายก12,487,044.00
ศูนย์การศึกษาหัวหิน11,593,295.00
ศูนย์การศึกษาตรัง11,775,182.00
รวม301,193,085.00    บาท

ผลประโยชน์ที่มหาวิทยาลัยได้รับ

ลำดับที่รายละเอียดประโยชน์ที่จะได้รับ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตศูนย์วิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัยอาคาร ดร. ศิโรจน์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ศูนย์การศึกษา ลำปางศูนย์การศึกษา นครนายกศูนย์การศึกษา หัวหิน ศูนย์การศึกษา ตรังรวมทุกพื้นที่
1ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%15%15%15%15%15%15%15%15%15%
2ระยะเวลาโครงการ20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี20 ปี
3คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี (บาท)129,541,67323,166,8546,962,4909,762,26391,894,98950,833,57114,690,64113,639,17013,853,155  354,344,806
4คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี  (บาท)110,110,42219,691,8265,918,1168,297,92478,110,74043,208,53612,487,04411,593,29511,775,182301,193,058    
5คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี (บาท)19,434,2513,475,0281,044,3731,464,33913,784,2487,625,0362,203,5962,045,8762,077,973 53,154,720
6คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี (บาท)971,563173,75152,21973,217689,212381,252110,180102,294103,899    2,657,587
7คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี  (tCO2)15,6322,7968401,17811,0896,1341,7731,6461,672           42,760.00
8คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh0.4401 tco2/MWh

ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี129,541,673  บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี110,110.422  บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี19,434,251    บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี971,563        บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี15,632   tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี23,166,854 บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี19,691,826 บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี3,475,028  บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี173,751     บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี2,796      tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

บัณฑิตวิทยาลัย

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี6,962,490  บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี5,918,116  บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี  1,044,373 บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี  52,219    บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี 840    tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

อาคาร ดร.ศิโรจน์  ผลพันธิน

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี9,762,263 บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี8,297,924 บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี1,464,339 บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี73,217      บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี1,178     tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

วิทยาเขตสุพรรณบุรี

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี91,894,989  บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี78,110,740  บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี13,784,248  บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี689,212       บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี11,089       tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ศูนย์การศึกษาลำปาง

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี50,833,571  บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี43,208,536  บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี7,625,036    บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี381,252       บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี6,134          tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ศูนย์การศึกษานครนายก

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี14,690,641  บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี12,487,044  บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี2,203,596   บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี110,180      บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี1,773         tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ศูนย์การศึกษาหัวหิน

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี13,639,170   บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี11,593,295   บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี2,045,876     บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี102,294       บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี1,646         tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ศูนย์การศึกษาตรัง

รายละเอียดผลประโยชน์ที่ได้รับผลประโยชน์ที่ได้รับ
1.ค่าบริการต่อหน่วยลดลงจากค่าไฟฟ้าฐานตามช่วงเวลาการใช้ TOU15%
2.ระยะเวลาโครงการ20 ปี
3.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าปกติเดิมที่ต้องชำระ 20 ปี13,853,155   บาท
4.คาดการณ์ค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ผลิตเองได้ตลอด 20 ปี11,775,182   บาท
5.คาดการณ์ผลประหยัดตลอด 20 ปี2,077,973     บาท
6.คาดการณ์ผลประหยัดค่าไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเฉลี่ยต่อปี103,899       บาท
7.คาดการณ์ลดคาร์บอนไดออกไซด์ตลอด 20 ปี1,672         tCO2
8.สมการแสดงการคำนวณการลดการปลดปล่อย CO20.4401 tco2/MWh

ระบบแสดงผล (Monitoring System)

ภาพประกอบ

       อุปกรณ์ป้องกันด้านความปลอดภัย

Rapid shutdown คือ ระบบหยุดทำงานฉุกเฉิน เพื่อให้แผงโซลาร์หยุดการจ่ายกระแสไฟฟ้า DC ในระยะเวลาอันสั้น

1. วงจรนอก Array (Outside Array boundary) ต้องลดแรงดันไฟฟ้า DC ให้ลดลงเหลือ 30 โวลต์ ต่อ 30 วินาที

2. วงจรใน Array (Inside Array boundary) ต้องลดแรงดันไฟฟ้า DC ให้ลดลงเหลือ 80 โวลต์ ต่อ 30 วินาที เพื่อให้แน่ใจว่าบนหลังคาของอาคารมีสภาพที่ปลอดภัยในระหว่างเกิดเพลิงไหม้ เพื่อให้นักดับเพลิงเข้าไปดับไฟ

ตัววัดความเร็วลม

ตัวเซ็นเซอร์ตรวจจับความร้อนใต้แผง

ใช้กล้อง CCTV  ตรวจสอบความปลอดภัย บนหลังคาที่ติดตั้ง Solar Rooftop

อุปกรณ์ตัดต่อวงจรเมื่อเกิดแรงดันหรือกระแสสูงเกินไป

อินเวอร์เตอร์ ชนิด Optimizer

มาตรฐานแผงโซล่าร์ที่ใช้

– แผงที่ใช้ในการติดตั้ง เป็นแผง Mono Crytalline  เป็นแผงที่อยู่ใน Tier-1 ตาม Bloomberg New Energy Finance Corporation

– มาตรฐาน IEC 61215 Crystalline silicon terrestrial photovoltaic (PV) modules-Design qualification and type approval

– มาตรฐาน IEC 61730 Photovoltaic (PV) module safety qualification

ระบบป้องกันไฟฟ้าไหลย้อน  (Protection System)

คู่มือมาตรฐานความปลอดภัย

มีระบบแสดงผล (Monitoring System) และการแจ้งเตือนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ผ่านหน้าจอแสดงผลแบบ Real Time

มีการทำประกันภัยไว้ตลอดโครงการ