เป้าหมาย-4 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

4

การศึกษาที่มีคุณภาพ

สร้างการศึกษาที่เท่าเทียมและทั่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน

No.IndicatorResult
4.2Proportion of graduates with teaching qualification  
4.2.1Proportion of graduates with relevant qualification for teaching นักศึกษาสำเร็จการศึกษาด้านการสอน จำนวน =  321 คน นำเสนอ
Number of graduates นักศึกษาสำเร็จการศึกษาทั้งหมด  ปี 2565 =  1,470 คน  นำเสนอ
หลักฐาน
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R3/STD202303-09-Rev1.pdf 
Number of graduates who gained a qualification that entitled them to teach at primary school level นักศึกษาสำเร็จการศึกษาด้านการสอน =  321 คน  
     ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา = 82 คน 
     ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปฐมศึกษา = 178 คน 
     ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ = 50 คน 
     ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ = 11 คน 
4.3Lifelong learning measures 
4.3.1Public resources (lifelong learning)  
Provide free access to educational resources for those not studying at the university – e.g. computers, library, online courses, and access to lectures. 
free courses leading to certificate, free access to campus facilities and equipment

1. แหล่งเรียนรู้ออนไลน์กับสื่อออนไลน์   
บริการฟรีไม่เสียค่าใช้จ่าย 
     – SDU MOOC 
     – SDU Online Course 
     – SDU Sharing 
     – edlru.dusit.ac.th 

ลิงก์เผยแพร่
https://mooc.dusit.ac.th/ 
https://onlinecourse.dusit.ac.th/ 
https://sec.dusit.ac.th/ นำเสนอ 2
https://edlru.dusit.ac.th/
Free courses leading to certificate or award = 0.4 คะแนน 2. โครงการพัฒนายกระดับทักษะวิชาชีพและการสร้างทักษะวิชาชีพใหม่ที่จำเป็นต่อการทำงานเพื่อสร้างอาชีพและพัฒนาการทำงานในอนาคต 
     เป็นหลักสูตรเพื่อ Upskill Reskill ให้กับนักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า ของโรงเรียนการเรือน รวมถึงบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยและบุคคลภายนอก ที่สนใจ ให้สามารถนำความรู้ ทักษะด้านการประกอบอาหาร และคหกรรมศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนางาน และการประกอบอาชีพได้จริง โดยจัดอบรมตั้งแต่เดือนกันยายน 2565 – ปัจจุบัน ในทุกวันพุธ เวลา 17.00 – 18.00 น. (รูปแบบ Online) 

ลิงก์เผยแพร่
http://food.dusit.ac.th/main/train  นำเสนอ 1

comment : หลักสูตรอบรมฟรี (Reskill Upskill) ของโรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
รูปแบบ on line(ทุกวันพุธ 17.00-18.00) และ on site (ทุกวันพฤหัส10.00-12.00) ซึ่งสามารถใช้ Lab และเครื่องมือของศูนย์ปฎิบัติการอาหารนานาชาติได้ และได้รับประกาศนียบัตรเมื่อเสร็จสิ้นอบรม
ศูนย์เครื่องมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการกับผู้ขอใช้ภายนอกด้วย
Free access to campus facilities and equipment = 0.4 คะแนน 
Free access to online resources = 0.2 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ = 1 คะแนน 
4.3.2Public events (lifelong learning) 
Host events at university that are open to the general public: public lectures, community educational events. 
(เป็นเจ้าภาพจัดอบรมฟรีให้กับคนภายนอก)
ad-hoc, on programmed basis

1. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดงานประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2023 ครั้งที่ 5 (The 5th Suan Dusit National Academic Conference 2023) 
“นวัตกรรมและปัญญาประดิษฐ์เพื่อการศึกษาในยุคดิจิทัล” (Innovation and Artificial Intelligence for Education 
in the Digital Era)  

 ลิงก์เผยแพร่
งานประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2023 ครั้งที่ 5 (THE 5TH SUAN DUSIT NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE 2023) นำเสนอ 1
จัดอบรมฟรีให้กับคนภายนอก = 1 คะแนน   
ทั้งฟรี และ คิดเงิน = 0.5 คะแนน  
เก็บเงินอย่างเดียว = 0.25 คะแนน)  
2. โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ปี 2565 
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเข้าร่วมโครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ใหม่กับ สปอว. ขับเคลื่อนหลักสูตรตามความต้องการของสังคมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการท่องเที่ยวภายใต้โครงการ “ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกลางเต้นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and a Green Campground Business) จัดอบรมให้บุคคลทั่วไปฟรี พร้อมแจกประกาศนียบัตรผู้ผ่านการอบรม กิจกรรมเป็นรูปแบบบูรณาการ แบบออนไซต์ ออนไลน์ และการทัศนศึกษา โดยมีมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเป็นฐานในการจัดอบรม

 ลิงก์เผยแพร่
https://www.nxtgenhedb.com/project/550  
– https://www.dusit.ac.th/home/2023/1062040.html  นำเสนอ 2

comment : งานประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2023 ครั้งที่ 5 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่เสียค่าใช้จ่าย
การอบรมที่มหาวิทยาลัยซึ่งผู้เข้าอบรมไม่เสียค่าใช้จ่าย
Ad hoc (เฉพาะกิจ) 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ = 1 คะแนน 
4.3.3Vocational training events (lifelong learning) 
Host events at university that are open to the general public: executive education programmes 
(this refers to short courses for people who are not attending the university; this specifically excludes courses like MBA) and/or vocational training.  
จัดโครงการอบรมให้ความรู้สำหรับผู้ใหญ่ ระดับผู้บริหาร คนภายนอก หรือด้านทักษะอาชีพ  ไม่รวม MBA  
ad-hoc, on programmed basis

1. โครงการบริการวิชาการแก่สังคม (ฝึกอบรมการทำอาหารและขนม)  
            การจัดกิจกรรมอบรมอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม ให้กับนักศึกษา บุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการสร้างกิจกรรมร่วมกัน รวมทั้งเป็นการส่งเสริมอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้เป็นที่ประจักษ์แก่สังคมมากยิ่งขึ้น  โดยจัดอบรมตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2565 – ปัจจุบัน ในทุกวันพฤหัสบดี เวลา 10.00 – 12.00 น. (รูปแบบ Onsite) 
 ลิงก์เผยแพร่
http://food.dusit.ac.th/main/train  นำเสนอ 1

2. โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ปี 2565 
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเข้าร่วมโครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ใหม่กับ สปอว. ขับเคลื่อนหลักสูตรตามความต้องการของสังคมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการท่องเที่ยวภายใต้โครงการ “ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกลางเต้นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and a Green Campground Business) จัดอบรมให้บุคคลทั่วไปฟรี พร้อมแจกประกาศนียบัตรผู้ผ่านการอบรม กิจกรรมเป็นรูปแบบบูรณาการ แบบออนไซต์ ออนไลน์ และการทัศนศึกษา โดยมีมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเป็นฐานในการจัดอบรม  
 ลิงก์เผยแพร่
https://www.nxtgenhedb.com/project/550  
– https://www.dusit.ac.th/home/2023/1062040.html  นำเสนอ 2
แบบโปรแกรมอบรมอย่างเดียว = 0.75 คะแนน 
แบบกิจกรรมเฉพาะกิจ ad-hoc อย่างเดียว = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ = 1 คะแนน 
4.3.4Education outreach activities beyond campus 
Undertake educational outreach activities (e.g. tailored lectures or demonstrations) beyond campus – in local schools, in the community. This can include voluntary student-run schemes. 
ไปให้บริการความรู้กับคนภายนอก มีการไปบรรยายให้กับคนภายนอก เช่น ในท้องถิ่น ชุมชน หรือรวมถึงที่นักศึกษาไปให้บริการก็ได้ รูปแบบกิจกรรมเป็นโครงการ หรือเป็นกิจกรรมเฉพาะกิจทั่วไป 
ad-hoc, on programmed basis

1. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ แพลตฟอร์ม CIRA CORE ให้กับนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา 2 ระหว่างวันที่ 22- 23 พฤศจิกายน 2565 
         ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตินาถ สุคนเขตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธานกล่าวเปิดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ แพลตฟอร์ม CiRA CORE ให้กับนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา 2 ระหว่างวันที่ 22- 23 พฤศจิกายน 2565 และได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร. อุดมศักดิ์ กิจทวี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผศ.ดร.จิราภรณ์ พงษ์โสภา อ.หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์ ผศ.วัจนา ขาวฟ้า อ.หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ผศ.อรศิริ ศิลาลัย  
อ.หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ดร.รังสันต์  
จอมทะรักษ์ อ.หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์ เป็นวิทยากรบรรยายในครั้งนี้ 
ระดับชั้น ม.5 จำนวน 40 

 ลิงก์เผยแพร่
กิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ แพลตฟอร์ม CIRA CORE นำเสนอ 2

2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ แพลตฟอร์ม CiRA CORE ให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ ระหว่างวันที่ 7 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2565 
 ลิงก์เผยแพร่
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต Suan Dusit University – คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ แพลตฟอร์ม CiRA CORE ให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ ระหว่างวันที่ 7 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2565  นำเสนอ 1

comment : CiRA CORE โปรแกรมที่เป็นตามความต้องการของโรงเรียน
แบบโปรแกรมอบรมอย่างเดียว = 0.75 คะแนน 
แบบกิจกรรมเฉพาะกิจ ad-hoc อย่างเดียว = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ = 1 คะแนน 
4.3.5Lifelong learning access policy 
A policy that ensures that access to these activities is accessible to all, regardless of ethnicity, religion, disability immigration status or gender. 
Yes

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วย คลังหน่วยกิตเพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต พ.ศ. 2563 
 ลิงก์เผยแพร่
 – https://regis.dusit.ac.th/main/?page_id=3230  นำเสนอ 1


2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง การวัดและประเมินผล การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ และการเทียบโอนประสบการณ์ในระบบคลังหน่วยกิต 
 ลิงก์เผยแพร่
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-788.pdf

 
 3. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการรับคนพิการเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2565 
 ลิงก์เผยแพร่
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-827.pdf  นำเสนอ 2
พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558

Policy created 2020 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย คลังหน่วยกิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Policy reviewed 2022
มีนโนยาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ = 1 คะแนน 
มีการปรับปรุงหรือพัฒนาในช่วง 2019-2023 
= 1 คะแนน 
4.4Proportion of first-generation students 
4.4.1Proportion of graduates with relevant qualification for teaching นักศึกษาสำเร็จการศึกษาด้านการสอน จำนวน =  312 คน  
Number of students ทั้งหมด นักศึกษาทั้งหมด  = 7,914 คน   นำเสนอ
 ลิงก์เผยแพร่
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R1/STD202301-02.pdf 
Number of students starting a degree ปีหนึ่ง นักศึกษาทั้งหมด  ปี 2565 =   2,145 คน   นำเสนอ
Number of first-generation students starting a degree  นักศึกษาที่เป็นลูกคนแรก ปี 2565 =  1,183 คน  นำเสนอ
 ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=12472 
FTE จำนวนนักศึกษาใหม่ / จำนวนนักศึกษาทั้งหมด FTES จำนวนนักศึกษา ปี 2565 (2,145 คน) = 2502.94 
จำนวนนักศึกษาทั้งหมด = 7,914 คน  
FTE จำนวนลูกคนแรกที่เข้าเรียน / จำนวนนักศึกษาปีหนึ่งทั้งหมด FTES จำนวนลูกคนแรกที่เข้าเรียน (1,183 คน) = 1380.17 
นักศึกษาทั้งหมด ปี 2565 =   2,145 คน  
 ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=12472 

[sdgs_list_goal_link]