เป้าหมาย-16 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

16

สันติภาพ ยุติธรรม และสถาบันที่เข้มแข็ง

สร้างเสริมสังคมที่สงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างกระบวนการยุติธรรมที่ทุกคนเข้าถึงได้ และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ และเปิดกว้างในทุกระดับ.

No.IndicatorResult
16.2University governance measuresมาตรการกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัย (ข้อมูลด้านธรรมาภิบาล)
16.2.1Elected representation
Have elected representation on the university’s highest governing body from: students (both undergraduate and graduate), faculty, and staff (non-faculty employees)
(x) students (both undergraduate and graduate) 
(x) faculty 
(x) staff (non-faculty employees) 

มหาวิทยาลัยสวนดุสิตดำเนินการการคัดเลือกผู้แทนจากรองอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสถาบัน หรือหัวหน้าส่วนงานอื่นที่เทียบเท่าคณะ เป็นกรรมการในสภามหาวิทยาลัยตามองค์ประกอบสภามหาวิทยาลัย มีเอกสารเกี่ยวข้องดังนี้
1. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 หมวด 2 การดำเนินการ มาตรา 19 องค์ประกอบสภามหาวิทยาลัย
2. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2558

หลักฐาน
1. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558
2. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2558

ลิงก์แผยแพร่

1. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/suandusit-university-2558.pdf. นำเสนอ
2. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/sdu-law-sec-02.pdf นำเสนอ

Comment : พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 (มาตรา 19)
students (both undergraduate and graduate)ตัวแทนนักศึกษาจากองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม Focus Group สนทนากลุ่มในการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างสภามหาวิทยาลัยกับนักศึกษา เพื่อแสดงความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วมการดำเนินงานและนำข้อมูลไปสู่การพัฒนามหาวิทยาลัย ในการประชุมสภามหาวิทยาลัย

หลักฐาน
1. การประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1(24)/2565 วันที่ 28 มกราคม 2565
2. การประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2(25)/2565 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565

ลิงก์แผยแพร่
เอกสารสรุปการประชุมสภามหาวิทยาลัย
facultyมหาวิทยาลัยสวนดุสิตดำเนินการการคัดเลือกผู้แทนจากคณาจารย์ประจำ เป็นกรรมการในสภามหาวิทยาลัยตามองค์ประกอบสภามหาวิทยาลัย มีเอกสารเกี่ยวข้องคือ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจำ พ.ศ. 2563

หลักฐาน
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจำ พ.ศ. 2563

ลิงก์แผยแพร่

https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2563-U01C-739.pdf
staff (non-faculty employees)มหาวิทยาลัยสวนดุสิตดำเนินการการคัดเลือกผู้แทนจากพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน เป็นกรรมการในสภามหาวิทยาลัยตามองค์ประกอบสภามหาวิทยาลัย มีเอกสารเกี่ยวข้องคือ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พ.ศ. 2563

หลักฐาน
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พ.ศ. 2563

ลิงก์แผยแพร่

https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2563-U01C-740.pdf
16.2.2Students’ union
Recognise an independent students’ union
(x) union provides governance input to university 
(x) union provides support for students 
(x) union provides social activities 

“สภานักศึกษาและองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีบทบาทหน้าที่เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย ธรรมนูญนักศึกษา พ.ศ. 2561 (โดยข้อบังคับดังกล่าวยังมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน) ในหมวด 1 ข้อ 6 การได้มาของประธานและกรรมการสภานักศึกษา หมวด 4 ข้อ 13 โดยมาจากผู้แทนนักศึกษาแต่ละคณะ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย ธรรมนูญนักศึกษา พ.ศ. 2561 หมวด 1 ข้อ 6 การดำเนินกิจกรรมของนักศึกษาตามข้อ 5 ,หมวด 2 สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ของนักศึกษา , หมวด 4 สภานักศึกษา ,หมวด 5 องค์การนักศึกษา , หมวด 6 สโมสรนักศึกษา และหมวด 7 ชมรม

หลักฐาน
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย ธรรมนูญนักศึกษา พ.ศ. 2561
2. Facebook องค์การและสภานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ลิงก์แผยแพร่

1. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2561-U11C-651.pdf นำเสนอ
2. องค์การและสภานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นำเสนอ

Comment : ข้อบังคับฯ ว่าด้วยธรรมนูญนักศึกษา ข้อ 16 และยังใช้อยู่ในปัจจุบัน
Union provides governance input to universityสภานักศึกษาและองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมในการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างสภามหาวิทยาลัยกับนักศึกษา เพื่อแสดงความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและนำข้อมูลไปสู่การพัฒนามหาวิทยาลัย ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วยกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ.2558 ข้อ 4 (4)

หลักฐาน
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วยกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ.2558
2. การประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1(24)/2565 วันที่ 28 มกราคม 2565
3. การประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2(25)/2565 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565

ลิงก์แผยแพร่

https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/sdu-law-sec-02.pdf
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1083344.html
Union provides support for studentsสภานักศึกษาและองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนและพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต ดังนี้
1. องค์การนักศึกษาการจัดกิจกรรม Welcome To SDU ต้อนรับนักศึกษาใหม่แนะนำน้องสู่รั้วมหาวิทยาลัย
2. องค์การนักศึกษาร่วมกับกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดหาและมอบทุนการศึกษา อาทิ ทุนวิจิตรพงศ์พันธุ์ ทุนการศึกษามูลนิธิคุณแม่จินตนา ธนาลงกรณ์ และทุนการศึกษา ดร.มลิวัลย์ ธรรมแสง ประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณทิต สาขาวิชาล่ามภาษามือ
3. กิจกรรมพัฒนานักศึกษาในโครงการค่ายทักษะสำหรับนักศึกษาเครือข่ายพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาด้านการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดให้กับนักศึกษา ระหว่างวันที่ 25-26 พฤษภาคม 2566 ณ ชลพฤกษ์ รีสอร์ท อ.บ้านนา จ.นครนายก
4. กองพัฒนานักศึกษา ศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ และ หลักสูตรจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษา (เพื่อนผู้ให้คำปรึกษา : Peer Counselor)

หลักฐาน
1. กิจกรรม Welcome To SDU ต้อนรับนักศึกษาใหม่แนะนำน้องสู่รั้วมหาวิทยาลัย
2. องค์การนักศึกษาร่วมกับกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดหาและมอบทุนการศึกษา
3. โครงการค่ายทักษะสำหรับนักศึกษาเครือข่ายพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาด้านการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดให้กับนักศึกษา
4. การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษา (เพื่อนผู้ให้คำปรึกษา : Peer Counselor)

ลิงก์แผยแพร่

1. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1106193.html
2. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1111121.html
3. เพจ กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
4. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1083344.html
Union provides social activitiesสภานักศึกษาและองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือ ผ่านการมีส่วนร่วมของนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต ดังนี้
1. กิจกรรม เปลี่ยนขยะอลูมิเนียม เป็นต้นทุนขาเทียม แด่ผู้พิการ ภายใต้โครงการจิตอาสาวิถีใหม่
2. โครงการสานสายใยแด่น้องกำพร้าจังหวัดตรัง การช่วยเหลือน้องกำพร้าจากทุกศาสนา เพื่อให้การดูแลและสร้างความอบอุ่น
3. โครงการครูอาสาพัฒนาชุมชน กิจกรรมแต้มสี เติมฝัน แบ่งปัน ความสุข ณ โรงเรียนวัดสะพาน (ศิษย์สมพงษ์อุทิศ) จังหวัดนครนายก

หลักฐาน
1.กิจกรรม เปลี่ยนขยะอลูมิเนียม เป็นต้นทุนขาเทียม แด่ผู้พิการ ภายใต้โครงการจิตอาสาวิถีใหม่
2. โครงการสานสายใยแด่น้องกำพร้าจังหวัดตรัง การช่วยเหลือน้องกำพร้าจากทุกศาสนา เพื่อให้การดูแลและสร้างความอบอุ่น
3.โครงการครูอาสาพัฒนาชุมชน กิจกรรมแต้มสี เติมฝัน แบ่งปัน ความสุข ณ โรงเรียนวัดสะพาน (ศิษย์สมพงษ์อุทิศ) จังหวัดนครนายก

ลิงก์แผยแพร่

1. เพจ กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
2. https://www.dusit.ac.th/home/2022/1036660.html
3. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1098330.html
16.2.3Identify and engage with local stakeholders
Have written policies and procedures to identify local stakeholders external to the university and engage with them
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีแนวนโยบายการบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วน จากผู้บริหารทุกระดับตั้งแต่ในระดับสภามหาวิทยาลัย คณะ และหน่วยงานทั้งหมด เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรให้มีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมที่สื่อไปในทางทุจริต รวมถึงปลูกและปลุกจิตสำนึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต ให้กับทั้งบุคลากรและนักศึกษาผ่านการดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหน่วยงานจากภายนอกมหาวิทยาลัย ผ่านการประกาศแนวนโยบายการบริหารงานมหาวิทยาลัย ดังนี้
1. การประกาศเจตจำนงสุจริตในการบริหารงานมหาวิทยาลัย (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)
2. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และเปิดศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน

หลักฐาน
1. ประกาศเจตจำนงสุจริตในการบริหารงานมหาวิทยาลัย
2. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และเปิดศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน

ลิงก์แผยแพร่

1. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2560-U06D-636.pdf นำเสนอ
2.1 https://www.dusit.ac.th/home/2021/872811.html นำเสนอ
2.2 https://www.moj.go.th/view/52234

Pocily created 2017 ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน นำเสนอ
16.2.4Participatory bodies for stakeholder engagement
Ensure that local stakeholders in the university – including local residents, local government, and civil society representativels (which may include groups such as refugee resettlement agencies) – have a meaningful mechanism or for participating in university decision making.
“มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการมีส่วนร่วมกับกิจกกรมและทิศทางการบริหารงานของมหาวิทยาลัย อาทิ
1. ศูนย์ขับเคลื่อนนวัตกรรมคณะวิทยาการจัดการก่อตั้งเพื่อการขับเคลื่อนสิ่งใหม่ ๆ ให้กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ชุมชนและภาครัฐในพื้นที่ รวมถึงประเทศ โดยมีองค์กรที่ให้คำปรึกษาและร่วมมือในการจัดกิจกรรม ได้แก่ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และบริษัมดรีมทีมเน็ตเวิร์ค จำกัด ตัวอย่างการมีส่วนร่วม หลักสูตรการจัดการบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการอาหารฮาลาล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาตรัง ได้รับข้อมูลและโอกาสจากผู้บริหารวิทยาลัยชุมชนปัตตานี วิทยาลัยชุมชนยะลา และวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส ในการเชื่อมโยงหลักสูตรระดับอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชน ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย กับหลักสูตรระดับระดับปริญญาตรี กลุ่มวิชาการจัดการอาหารฮาลาล (Halal Food) เพื่อให้สามารถประกอบหรือดำเนินการด้านอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่อนุมัติตามบัญญัติศาสนาอิสลามให้มุสลิมบริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้ รวมถึงวิถีการดำเนินชีวิตในทุกด้านที่ต้องเรียนรู้และมีความเข้าใจอย่างถูกต้อง”
2. ศูนย์พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการของโรงเรียนกฎหมาย โดยมีเจตนารมณ์สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ ให้กับมหาวิทยาลัย ชุมชน สังคมและประเทศ โดยร่วมมือในการจัดกิจกรรม ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สำนักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมมือกับชุมชนในกิจกรรมขับเคลื่อนธรรมนูญชุมชนไทยเวียง จ.นครนายก รวมถึงขับเคลื่อนการประเมินผลการจัดอบรมหลักสูตรไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ 2562 ที่ กพยช.รับรอง ของโรงเรียนกฎหมายและการเมือง” ตัวอย่างการมีส่วนร่วม โรงเรียนกฎหมายและการเมืองได้ให้ความร่วมมือทางวิชาการกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ในการส่งเสริม สนุบสนุน เผยแพร่ข้อมูล เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ผ่านการสร้างเครื่องมือประเมินธรรมาภิบาล (ด้านความรู้ความเข้าใจ) โดยที่ทางสำนักงาน ป.ป.ท. ได้ส่งวิทยากรผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มาบรรยายและเสวนาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารและบุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต และนำมาสู่การออกประกาศต่าง ๆ มหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

หลักฐาน
1. ศูนย์ขับเคลื่อนนวัตกรรมคณะวิทยาการจัดการ
2. ศูนย์พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการของโรงเรียนกฎหมาย

ลิงก์แผยแพร่

1. โครงสร้าง ศูนย์ขับเคลื่อนนวัตกรรม คณะวิทยาการจัดการ นำเสนอ
2. เพจ ศูนย์พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านกฎหมายและการเมือง นำเสนอ
16.2.5University principles on corruption and bribery
Publish the university’s principles and commitments on organized crime, corruption & bribery
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตกำหนดนโยบาย และออกประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริต การประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน ดังนี้
1. ประกาศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง นโยบาย – ไม่รับของขวัญ รวมถึงประโยชน์อื่นใด (No Gift Policy) ปรจำปี 2565
2. ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เจตจำนงสุจริตในการบริหารงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

หลักฐาน
1. ประกาศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง นโยบาย – ไม่รับของขวัญ รวมถึงประโยชน์อื่นใด (No Gift Policy) ประจำปี 2565
2. ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เจตจำนงสุจริตในการบริหารงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ลิงก์แผยแพร่

1.http://suphanburicampus.dusit.ac.th/new/2022/78278/  นำเสนอ 2
2. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2560-U06D-636.pdf  นำเสนอ 1
16.2.6Academic freedom policy
Have a policy on supporting academic freedom (freedom to choose areas of research and to speak and teach publicly about the area of their research)
research freedom for senior academics
research freedom for junior academics
teaching freedom for senior academics
teaching freedom for junior academics

มหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้ความสำคัญกับเสรีภาพทางวิชาการภายในมหาวิทยาลัย ผ่านการดำเนินงานด้านต่าง ๆ อาทิ
1. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จัดประชุมคณบดี ครั้งที่ 2(60)/2565 มอบคณบดีทุกคณะศึกษาแนวทางปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล และแนวปฏิบัติตามความรับผิดชอบต่อสังคม หลักเสรีภาพทางวิชาการ หลักความเป็นอิสระ และหลักความเสมอภาค ของทาง อว
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง การใช้เสรีภาพทางวิชาการ พ.ศ. 2565

หลักฐาน
1. การประชุมคณบดี ครั้งที่ 2(60)/2565
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง การใช้เสรีภาพทางวิชาการ พ.ศ. 2565

ลิงก์แผยแพร่

1. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2565-U06C-880.pdf นำเสนอ
2. https://www.dusit.ac.th/home/2022/947676.html นำเสนอ


Pocily created 2022 ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน
Research freedom for senior academicsมหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้ความสำคัญกับการส่งเสริมเสรีภาพทางวิชาการของบุคลากร นักศึกษา รวมทั้งจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวก และกิจกรรมในการเรียนการสอน การวิจัยการค้นคว้า การบริการทางวิชาการ และการเปิดกว้างในการแสดงความคิดเห็นทางวิชาการ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถทางวิชาการ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการใช้เสรีภาพทางการวิจัย โดยมีสิทธิเสนอโครงการวิจัย ตามศาสตร์ความรู้ความสามารถหรือความชำนาญตามสาขาที่ทำการเสนอโครงการวิจัยโดยมหาวิทยาลัยให้ทุนอุดหนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อฝึกทักษะการวิจัยสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่โดยมีนักวิจัยพี่เลี้ยง เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสวนดุสิตเพื่อใช้ประโยชน์ในวิชาการ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และประโยชน์ในเชิงสาธารณะ ผ่านข้อบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัย อาทิ
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การบริหารการวิจัย พ.ศ. 2559
ข้อ 10 ผู้มีสิทธิเสนอโครงการวิจัย ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) เป็นผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย
(2) มีความรู้ความสามารถหรือความชำนาญตามสาขาที่ทำการเสนอโครงการวิจัย
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ การเสนอโครงการวิจัย และอัตราการจ่ายเงินทุนอุดหนุนการวิจัย
ข้อ 3 ให้ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเสนอโครงการวิจัยและงานวิจัย ต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาตามรูปแบบที่กำหนด เว้นแต่กรณีได้รับเงินทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกให้เป็นไปตามรูปแบบของแหล่งทุนนั้น ๆ
ข้อ 4 การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยมีดังนี้
(1) การพัฒนางานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
(2) การพัฒนางานวิจัยเพื่อฝึกทักษะการวิจัยสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่โดยมีนักวิจัยพี่เลี้ยง
(3) การพัฒนางานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสวนดุสิต
(4) การพัฒนางานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ในวิชาการ
(5) การพัฒนางานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย
(6) การพัฒนางานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
(7) การพัฒนางานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะ

หลักฐาน
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การบริหารการวิจัย พ.ศ. 2559
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ การเสนอโครงการวิจัย และอัตราการจ่ายเงินทุนอุดหนุนการวิจัย

ลิงก์แผยแพร่

1. https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2559-C-06.pdf
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ การเสนอโครงการวิจัย และอัตราการจ่ายเงินทุนอุดหนุนการวิจัย พ.ศ.2559
Research freedom for junior academicsมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีการจัดสรรทุนวิจัยเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยส่งเสริมศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ให้มีโอกาสได้ฝึกฝนทักษะด้านการวิจัยภายใต้การดูแลของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และส่งเสริมและพัฒนาการใช้เสรีภาพทางวิชาการของบุคลากร อาทิ ทุนพัฒนามหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นทุนเพื่อการส่งเสริมการดำเนินงานวิจัยเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้เกิดความเข้มแข็งในสาขาอัตลักษณ์ พัฒนาหน่วยงานอิสระหรือหน่วยงานหารายได้ของมหาวิทยาลัยและพัฒนางานประจำของบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย จึงได้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการดำเนินงานวิจัยดังกล่าวภายใต้ “ทุนวิจัยเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัย” โดยมีวัตถุประสงค์ของการให้ทุน เพื่อ
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรดําเนินงานวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ในสาขาอัตลักษณ์ พัฒนาหน่วยงานอิสระ และพัฒนางานประจำของบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ
2. เพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและนําไปใช้ประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหา หรือวางแผนพัฒนาการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆ
3. เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ให้มีโอกาสได้ฝึกฝนทักษะด้านการวิจัยภายใต้การดูแลของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญนวัตกรรมการวิจัยของบุคลาการด้านอาหาร การจัดการเกษตรสมัยใหม่ เครื่องสำอาง
งานคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

หลักฐาน
1. ทุนพัฒนามหาวิทยาลัย

ลิงก์แผยแพร่

ทุนพัฒนามหาวิทยาลัย
Teaching freedom for senior academicsอาจารย์อาวุโสของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตร่วมแบ่งปันประสบการณ์การสอนผ่านกิจกรรมทางวิชาการที่ตนเองเชี่ยวชาญ อาทิ
1. ดร.มลิวัลย์ ธรรมแสง ประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาล่ามภาษามือ ดำเนินงานร่วมกับมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวก ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดอบรมเสริมความรู้และทักษะการใช้ภาษามืออเมริกัน (American Sign Language : ASL) ระดับที่ 1 Beginner โดยเชิญอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ แผนกภาษามืออเมริกัน จาก The University of California , Santa Cruz (UCSC) (Santa Cruz, CA) โครงการได้เสริมศักยภาพการให้บริการแก่ล่ามภาษามือและผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงานสนับสนุนนักศึกษาพิการในระดับมหาวิทยาลัย
2. การจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทางสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในประเด็น“ผู้นำกับการพัฒนา” โดยรศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี ดร.พรชณิตว์ แก้วเนตร รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศและลูกค้าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต รศ.ดร.ชลวิทย์ เจียรจิตต์ รองอธิการบดีฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์เพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ พระมหานภันต์ สันติภัทโท ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และมี รศ.ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ร่วมเป็นวิทยากรในการบรรยาย

หลักฐาน
1. การอบรมเสริมความรู้และทักษะการใช้ภาษามืออเมริกัน (American Sign Language : ASL) ระดับที่ 1 Beginner
2. การจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทางสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในประเด็น“ผู้นำกับการพัฒนา” โดยรศ.ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ลิงก์แผยแพร่

1. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1111297.html
2. https://www.dusit.ac.th/home/2022/1011671.html
Teaching freedom for junior academicsมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดโอกาสให้คณาจารย์และนักศึกษาดำเนินกิจกรรมวิชาการได้ตามความเชี่ยวชาญของตน ผ่านการใช้สื่อการเรียนการสอนที่เข้าถึงง่ายกับผู้เรียนหรือบุคคลภายนอก อาทิ Clubhouse Facebook ในกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ
1. Clubhouse คลับอาหารการกินSDU พูดคุยในหัวข้อเรื่อง “น้ำยาขนมจีนปักษ์ใต้” เคล็ดไม่ลับกับน้ำยาขนมจีนปักษ์ใต้ โดยอาจารย์สิรินทิพย์ สุตตาพงค์ (อาจารย์จากสาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนย์การศึกษา ตรัง โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต) ศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ Suan Dusit
2. ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
3. คณาจารย์มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีเสรีภาพทางวิชาการในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ตามสาขาวิชาที่สอนมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการสู่การเป็น SDU SMART Lecturers Season II Phase 2 ทำให้อาจารย์สามารถทบทวนและพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามทิศทางของมหาวิทยาลัย รวมทั้งการสนับสนุนให้ Up-Skill หรือ New-Skill ที่ส่งเสริมการพัฒนาการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนโครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการสู่การเป็น SDU SMART Lecturers Season II Phase 2

หลักฐาน
1. กิจกรรมคุยสบาย ๆ สไตล์สวนดุสิต
2. ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
3.โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการสู่การเป็น SDU SMART Lecturers Season II Phase 2

ลิงก์แผยแพร่

1. https://www.facebook.com/photo.php?fbid=270042462354802&set=a.249090847783297&type=3&mibextid=K8Wfd2  
2.https://slp.dusit.ac.th/category/online/ 
3. https://www.dusit.ac.th/home/2023/1098832.html 
16.2.7Publish financial data
Publish university financial data
มหาวิทยาลัยได้รับการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินจากหน่วยงานภายนอกและมีการเผยแพร่ข้อมูลทางการเงินของมหาวิทยาลัยผ่านทางช่องทางออนไลน์ และรายงานมหาวิทยาลัยที่ดี (Good University Report: GUR) ประจำปี 2565 (หน้า 29-32)

หลักฐาน
1. รายงานทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ 2565
2. รายงานมหาวิทยาลัยที่ดี (Good University Report: GUR) ประจำปี 2565

ลิงก์แผยแพร่

1. http://finance.dusit.ac.th/WEB/wp-content/uploads/2023/04/budget2565.pdf  นำเสนอ
2. https://www.dusit.ac.th/home/wp-content/uploads/2023/02/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1GUR2565_final.pdf  
นำเสนอ

comment : งานมหาวิทยาลัยที่ดี หน้า 29-32
16.3Working with governmentความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ
16.3.1Provide expert advice to government
Provide specific expert advice to local, regional or national government (for example through policy guidance, participation in committees, provision of evidence)
local, regional, national
บุคลากรและหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษาและดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานของภาครัฐ อาทิ
1. ศึกษาการจัดตั้งส่วนราชการระดับกรมรองรับ ภารกิจด้านไกล่เกลี่ย ระยะที่ 1 ให้กับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
2. คณบดีโรงเรียนกฎหมายและการเมืองเป็นคณะอนุกรรมการศึกษากรณีความเสียหายจากข้อผูกพันสัญญาในการดำเนินโครงการของรัฐ

หลักฐาน
รายละเอียดกิจกรรม การให้คำปรึกษา และการดำเนินงาน
1.ศึกษาการจัดตั้งส่วนราชการระดับกรมรองรับ ภารกิจด้านไกล่เกลี่ย ระยะที่ 1 สัญญาที่ 16/2566
2. สำนักงาน ป.ป.ท. จัดการประชุมอนุกรรมการศึกษาความเสียหายจากข้อผูกพันสัญญาในการดำเนินโครงการของรัฐ

ลิงก์แผยแพร่

1. https://www.rlpd.go.th/pcd/Content?ContentID=GaqQkluM# 
2.https://www.pacc.go.th/index.php/home/view_content/1/5009 

EV1 https://www.dusit.ac.th/home/2022/1031971.html นำเสนอ
EV2 https://www.dusit.ac.th/home/2022/1026117.html นำเสนอ

COMMENT
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยความร่วมมือทางวิชาการกับสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมทางวิชาการ การศึกษาวิจัย การบริการวิชาการ การพัฒนาบุคลากรและฝึกอบรม การกำหนดแนวทางนโยบายที่เกี่ยวกับกฎหมาย การบริหารงานยุติธรรม
รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประจำคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
Localบุคลากรและหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษาและดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานของภาครัฐในระดับท้องถิ่น อาทิ
1. โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การขับเคลื่อนธรรมาภิบาลภาคปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกลไกการจัดการต่อด้านการติดสินบน : กรณีศึกษาการขอใบอนุญาตการก่อสร้างอาคารของเทศบาลนคร
2. บุคลากรของศูนย์การศึกษา ตรัง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ยังได้รับความความเชื่อมั่นจากกระทรวงยุติธรรม ให้เป็นคณะกรรมการสงเคราะห์เด็กและเยาวชนสำหรับสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดตรัง

หลักฐาน
1. การประชุมติดตามการดำเนินงานวิจัยแผนงานการขับเคลื่อนธรรมาภิบาลภาคปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกลไกการจัดการต่อด้านการติดสินบน : กรณีศึกษาการขอใบอนุญาตการก่อสร้างอาคารของเทศบาลนคร
2. คำสั่งกระทรวงยุติธรรมที่ 118/2566 ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2566

ลิงก์แผยแพร่

1.https://slp.dusit.ac.th/%e0%b8%98%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%9a%e0%b8%b2%e0%b8%a5%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b8%9b%e0%b8%8f%e0%b8%b4%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%ef%bf%bc%e0%b9%80/ 
2.https://www.facebook.com/photo/?fbid=667240638758597&set=a.460563992759597 
Regionalบุคลากรและหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษาและดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานของภาครัฐในระดับภูมิภาค อาทิ
1. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมกับ สำนักพัฒนาคุณภาพครู นักศึกษาครู และสถานศึกษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ดำเนินงานโครงการแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพิ่มคุณวุฒิทางวิชาชีพครู ตชด. พื้นที่ภาคตะวันออก-ตะวันตก ให้คำแนะนำโดยที่ปรึกษาโครงการพัฒนาครูและโรงเรียน ตชด.
2. โรงเรียนการเรือน สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนย์การศึกษาลำปาง ดำเนินการร่วมกับองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) ระดับภาค ภาคเหนือ ในงานประชุมวิชาการและเป็นกรรมการฝ่ายตัดสินการแข่งขันการออกแบบและการประกอบอาหารเชิงธุรกิจ

หลักฐาน
1. การประชุมหารือเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพิ่มคุณวุฒิทางวิชาชีพครู ตชด. พื้นที่ภาคตะวันออก-ตะวันตกวันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 – 15.30 น. ในรูปแบบออนไลน์ โปรแกรม Zoom
2. งานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 34 ประจำ ปีการศึกษา 2565 ดำเนินการโดย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ณ วิทยาลัยศึกษาลำปาง

ลิงก์แผยแพร่

1.https://www.dusit.ac.th/home/2022/953760.html 
2.https://www.dusit.ac.th/home/2022/1036962.html 
Nationalบุคลากรและหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษาและดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานของภาครัฐในระดับประเทศ อาทิ
1. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยความร่วมมือทางวิชาการกับสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมทางวิชาการ การศึกษาวิจัย การบริการวิชาการ การพัฒนาบุคลากรและฝึกอบรม การกำหนดแนวทางนโยบายที่เกี่ยวกับกฎหมาย การบริหารงานยุติธรรม
2. ผู้บริหาร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้รับความเชื่อมั่นในความรู้ความเชี่ยวชาญ โดยได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญขององค์กรภาครัฐ ในการทำงานให้กับประเทศ อาทิผู้เชี่ยวชาญประจำตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประจำคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา

หลักฐาน
1. Mou ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม กับ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
2.1 รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาการศึกษา ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประจำคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
2.2 รศ.ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ คณบดีโรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญประจำตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

ลิงก์แผยแพร่

1.https://www.dusit.ac.th/home/2022/1031971.html 
2.1 https://www.dusit.ac.th/home/2022/1026117.html 
2.2 https://www.dusit.ac.th/home/2021/872767.html 
16.3.2Policy- and lawmakers outreach and education
Provide outreach, general education, upskilling and capacity-building to policy and lawmakers on relevant topics including economics, law, technology, migration and displacement, and climate change
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีการจัดการศึกษาและการอบรม เพื่อการพัฒนาตนเองให้กับผู้ทำงานด้านการศึกษา นโยบายและกฎหมาย หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง อาทิ
1. การอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ศป.) แล้ว
2. การอบรมหลักสูตรการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562

หลักฐาน
1. หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ศป.) แล้ว
2. หลักสูตรการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562

ลิงก์แผยแพร่

1. Facebook หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 
https://www.facebook.com/profile.php?id=100057432948816  นำเสนอ
 
2. Facebook ศูนย์ไกล่เกลี่ยฯ  
โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มสด. 
https://www.facebook.com/mediationdusit/  นำเสนอ
 
16.3.3Participation in government research
Undertake policy-focused research in collaboration with government departments
บุคลากรและหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีส่วนร่วมในงานวิจัยด้านนโยบายและแผนที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วนงานของรัฐหรือวิจัยที่ทำร่วมกับหน่วยงานของรัฐ อาทิ
1. โครงการวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในการควบคุมเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด โรงเรียนนายร้อยตำรวจ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ คณบดีโรงเรียนกฎหมายและการเมือง เป็นหัวหน้าโครงการ
2. โครงการวิจัย เรื่อง การจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำในคดีอาญาด้วยกระบวนการการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โรงเรียนนายร้อยตำรวจ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ เป็นหัวหน้าโครงการ

หลักฐาน
1. โครงการวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในการควบคุมเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด โรงเรียนนายร้อยตำรวจ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ คณบดีโรงเรียนกฎหมายและการเมือง เป็นหัวหน้าโครงการ
2. โครงการวิจัย เรื่อง การจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำในคดีอาญาด้วยกระบวนการการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โรงเรียนนายร้อยตำรวจ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ เป็นหัวหน้าโครงการ

ลิงก์แผยแพร่

1. https://newsreportblogger.blogspot.com/2023/07/5.html 
2. https://www.thairath.co.th/news/local/2707447  

EV1 https://newsreportblogger.blogspot.com/2023/07/5.html นำเสนอ
EV2 https://www.thairath.co.th/news/local/2707447 นำเสนอ

COMMENT
รองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ และคณาจารย์โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มีส่วนร่วมในงานวิจัยด้านนโยบายและแผนที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วนงานของรัฐหรือวิจัยที่ทำร่วมกับหน่วยงานของรัฐ อาทิ การวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในการควบคุมเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด และ การวิจัย เรื่อง การจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำในคดีอาญาด้วยกระบวนการการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
16.3.4Neutral platform to discuss issues
Provide a neutral platform and ‘safe’ space for different political stakeholders to come together to frankly discuss challenges
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดพื้นที่ทางวิชาการให้แก่คณาจารย์ และนักศึกษา ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ทางการเมือง กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุบัน โดยนำปรากฎการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นมาอธิบายถ่ายทอดในแง่มุมวิชาการที่เข้าถึงได้และเข้าใจง่าย ผ่านทั้ง “เวทีเสวนาออนไลน์” “เวทีเสวนาออนไซต์” โดยเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถนำเสนอความรู้ ความเชี่ยวชาญและความคิดเห็นของตนมาร่วมแสดงและแลกเปลี่ยนกัน เป็นการสร้าง“กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ” และ “การเรียนรู้ตลอดชีวิต” อาทิ
1. ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง หัวข้อ “จับสัญญาณการเมืองก่อนการเลือกตั้ง 2566” ซึ่งได้รับเกียรติจาก ดร.ลิณธิภรณ์ วริณวัชรโรจน์ รองเลขาธิการพรรคเพื่อไทยและรักษาการโฆษกพรรคเพื่อไทย มาเป็นวิทยากร ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง วันที่ 3 พฤษภาคม 2566
2. ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง หัวข้อ จับสัญญาณ การตั้งรัฐบาล พิธา 1 โดย คุณชุติพงศ์ พิภพภิญโญ ส.ส.จังหวัดระยอง เขต 4 พรรคก้าวไกล วิทยากร และผศ.อดชาย ชุติกาโม ผู้ดำเนินรายการ วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 ผ่าน facebook live


หลักฐาน
1. คลิปวิดีโอ ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง หัวข้อ “จับสัญญาณการเมืองก่อนการเลือกตั้ง 2566”
2. คลิปวิดีโอ ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง หัวข้อ จับสัญญาณ การตั้งรัฐบาล พิธา 1

ลิงก์แผยแพร่

1. https://slp.dusit.ac.th/%e0%b8%a3%e0%b8%81%e0%b8%a1-%e0%b8%a1%e0%b8%aa%e0%b8%94-%e0%b8%88%e0%b8%b1%e0%b8%94%e0%b9%80%e0%b8%a7%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b9%88%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%81/  
2. ﷟HYPERLINK “http://slp.dusit.ac.th/category/online/” 

1. https://slp.dusit.ac.th/online-academic-market/ นำเสนอ
2. https://slp.dusit.ac.th/%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7-3/
นำเสนอ

COMMENT
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดพื้นที่ทางวิชาการให้แก่คณาจารย์ และนักศึกษา ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ทางการเมือง กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุบัน โดยนำปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นมาอธิบายถ่ายทอดในแง่มุมวิชาการที่เข้าถึงได้และเข้าใจง่าย โดยเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถนำเสนอความรู้ ความเชี่ยวชาญและความคิดเห็นของตนมาร่วมแสดงและแลกเปลี่ยนกัน เป็นการสร้าง“กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ” และ “การเรียนรู้ตลอดชีวิต” ผ่านกิจกรรม “ตลาดวิชาการออนไลน์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง” โดยในการเลือกตั้งที่ผ่านมา ได้มีการจัดเวทีพูดคุยเกี่ยวกับการเลือกตั้ง 2566 ทั้งก่อนและหลังการเลือกตั้ง ในหัวข้อ “จับสัญญาณการเมืองก่อนการเลือกตั้ง 2566” และ “จับสัญญาณ การตั้งรัฐบาล พิธา 1”
16.4Proportion of graduates in law and civil enforcement
16.4.1Proportion of graduates in lawจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2565
นิติศาสตรบัณฑิต 48 คน นำเสนอ

หลักฐาน
1. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2565
Number of graduatesจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2565
จำนวน 1,470 คน นำเสนอ

หลักฐาน
1. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2565
Number of graduates from law and enforcement related coursesตัวเลขผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านกฎหมายหรือด้านที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2565
นิติศาสตรบัณฑิต 48 คน รัฐศาสตรบัณฑิต จำนวน 43 คน รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 43 คน ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา กฎหมายปกครองและการบริหารงานภาครัฐ 1 คน รวมทั้งสิ้น 135 คน
ผู้ผ่านการอบรม หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ศป. แล้ว) จำนวน 73 คน
ผู้ผ่านการอบรม หลักสูตรการไกล่เกลี่ข้อพิพาท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 จำนวน 306 คน

หลักฐาน
1. ข้อมูลระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
2. รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

ลิงก์แผยแพร่

https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R3/STD202303-09-Rev1.pdf
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17