หลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับ SDGs ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

                 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่จัดการศึกษาบนพื้นฐานการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่สังคม โดยได้มีการบูรณาองค์ความรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาในหลักสูตรต่าง ๆ ดังนี้

ลำดับคณะ/โรงเรียนระดับหลักสูตรสาขาวิชา
ระดับปริญญาตรี จำนวน 38 หลักสูตร
1ครุศาสตร์ปริญญาตรี (4 ปี)ศึกษาศาสตรบัณฑิตการศึกษาปฐมวัย
2ครุศาสตร์ปริญญาตรี (4 ปี)ศึกษาศาสตรบัณฑิตการประถมศึกษา
3มนุษยศาสตร์ฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
4มนุษยศาสตร์ฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตภาษาและการสื่อสาร
5มนุษยศาสตร์ฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตภาษาจีนเพื่องานบริการ
6วิทยาการจัดการปริญญาตรีการจัดการบัณฑิต
7วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตการตลาด
8วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตเลขานุการทางการแพทย์
9วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
10วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตธุรกิจสร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล
11วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตธุรกิจระหว่างประเทศ
12วิทยาการจัดการปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต
13วิทยาการจัดการปริญญาตรีนิเทศศาสตรบัณฑิตนิเทศศาสตร์นวัตกรรมและผู้ประกอบการธุรกิจ
14วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตธุรกิจระหว่างประเทศ
ธุรกิจจีน-อาเซียน
15วิทยาการจัดการปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิตบริหารธุรกิจ
16วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาการคอมพิวเตอร์
17วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
18วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง
19วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิตเทคโนโลยีสารสนเทศ
20วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรี (5 ปี)ศึกษาศาสตรบัณฑิตคณิตศาสตร์
21วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณภัย
22วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตเทคโนโลยีเคมี
23วิทยาศาสตร์ฯปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์
24พยาบาลศาสตร์ปริญญาตรีพยาบาลศาสตรบัณฑิต
25การเรือนปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิตเทคโนโลยีอาหาร
26การเรือนปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตคหกรรมศาสตร์
27การเรือนปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตเทคโนโลยีการประกอบอาหารและ
การบริการ
28การเรือนปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตการกำหนดและการประกอบอาหาร
29การเรือนปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร
30การเรือนปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตโภชนาการและการประกอบอาหารเพื่อการสร้างเสริมสมรรถภาพและการชะลอวัย
31การท่องเที่ยวฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตธุรกิจการบิน
32การท่องเที่ยวฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตการท่องเที่ยว
33การท่องเที่ยวฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตธุรกิจการโรงแรม
34การท่องเที่ยวฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตการจัดการงานบริการ (นานาชาติ)
35การท่องเที่ยวฯปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิตสหวิทยาการการท่องเที่ยว
36กฎหมายฯปริญญาตรีรัฐศาสตรบัณฑิต
37กฎหมายฯปริญญาตรีรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
38กฎหมายฯปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต
ระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 3 หลักสูตร
1ครุศาสตร์ประกาศนียบัตรบัณฑิตประกาศนียบัตรบัณฑิตล่ามภาษามือ
2ครุศาสตร์ปริญญาโทศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา
3ครุศาสตร์ปริญญาโทศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา

โดยมีเนื้อหาสาระ รายละเอียดของการจัดกิจกรรม ดังนี้

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65)

ที่รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิตเนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับSDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษาคณะหลักสูตร/สาขาวิชา
13653117การคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจดิจิทัล3(3-0-6)การคิดออกแบบและนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการจากการบูรณาการความคิดเชิงธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล เกี่ยวกับ SDG 2,  SDG 16 นักศึกษานำเสนอแนวคิดผลิตภัณฑ์/บริการ ที่เกี่ยวกับ SDG 2,  SDG 162/2564คณะวิทยาการจัดการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
23653703เทคโนโลยีมัลติมีเดียสำหรับงานธุรกิจ3 (2-2-5)การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น เกี่ยวข้อง SDG 2, SDG 16ให้นักศึกษาออกแบบสื่อมัลติมีเดีย บรรจุภัณฑ์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น เกี่ยวข้อง SDG 2, SDG 16 (กิจกรรมออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น กลุ่มปลาเค็มน้ำมะดัน)2/2564คณะวิทยาการจัดการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
33653904โครงงานธุรกิจดิจิทัล3 (2-2-5)การทำโครงงานธุรกิจดิจิทัลเกี่ยวกับระบบช่วยการจัดการขยะในรูปแบบของแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 12นักศึกษาทำโครงงานธุรกิจดิจิทัลเกี่ยวกับระบบช่วยการจัดการขยะในรูปแบบของแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 122/2564คณะวิทยาการจัดการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
43653006การสร้างธุรกิจดิจิทัล3(2-2-5)การคิดออกแบบและนำเสนอแผนธุรกิจจากการบูรณาการความคิดเชิงธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล เกี่ยวกับ SDG 8นักศึกษานำเสนอแนวคิดแผนธุรกิจจากการบูรณาการความคิดเชิงธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล ที่เกี่ยวกับ SDG 8 (กิจกรรม startup Thailand league)1/2565คณะวิทยาการจัดการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
53653705การออกแบบสื่อดิจิทัล3(2-2-5)การออกแบบสื่อดิจิทัลเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น เกี่ยวข้อง SDG 8ให้นักศึกษาออกแบบสื่อดิจิทัลเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น เกี่ยวข้อง SDG 8 (กิจกรรม startup Thailand league)1/2565คณะวิทยาการจัดการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
63691207การสร้างเนื้อหาและเส้นทางลูกค้า(Content Creation and Customer Journey)3 (2-2-5)การสร้างสรรค์เนื้อหาและออกแบบประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง SDG 7 ,SDG 11 และ SDG 12ในสื่อออนไลน์และออฟไลน์ให้นักศึกษาออกแบบเนื้อหาและสร้างประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้อง SDG 7, SDG 11 และ SDG 12 และนำเสนอในสื่อออนไลน์และออฟไลน์2/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจสร้างสร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล
73691203ความคิดและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Ideas and CreativeThinking Processes)3 (2-2-5)การคิดออกแบบและนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการจากการบูรณาการความคิดทางธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล เกี่ยวกับ SDG 2,  SDG 7 และ SDG 11 และ SDG 12นักศึกษานำเสนอแนวคิดผลิตภัณฑ์/บริการ ที่เกี่ยวกับ SDG 2,  SDG 7 และ SDG 11 และ SDG 121/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจสร้างสร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล
83692207การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing)3 (2-2-5)การทำการตลาดดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาทำการตลาดดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจสร้างสร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล
93683202ตัวแทนออกของมาตรฐาน  (Standard Customs Broker)3 (3-0-6)ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ใบขนสินค้านำเข้าส่งออก ใบขนส่งสินค้าการส่งออกเฉพาะส่วนบุคคลและเอกสิทธิ์ศุลกากรสำหรับพัสดุทางอากาศ สิทธิประโยชน์ทางศุลกากรโดยการสร้างสรรค์เนื้อหาและออกแบบประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง SDG 4 ,SDG 8กำหนดผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มสนใจ พร้อมทั้งหาข้อมูลเกี่ยวกับพิธีการส่งออกเฉพาะเรื่องของผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มสนใจและนำเสนอในสื่อออนไลน์และออฟไลน์ ที่เกี่ยวข้อง SDG 4 ,SDG 8 2/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
103683901สัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ (Seminar in International Business)3 (2-2-5)กระบวนการสัมมนาการวิเคราะห์และการอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาของระบบธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจระหว่างประเทศ เหตุการณ์ทางธุรกิจระหว่างประเทศที่น่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์โดยกำหนดให้นักศึกษาจัดสัมมนาเรื่อง “PDPA กับการทำธุรกิจระหว่างประเทศในยุคดิจิทัล” มีการบูรณาการความคิดทางธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล เกี่ยวกับ SDG 4,  SDG 8นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้จากรายวิชานี้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต ที่เกี่ยวกับ SDG 4,  SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
113683203การดำเนินงานและการบริหารโซ่อุปทาน (Operations and Supply Chain management)3(3-0-6)การคิดออกแบบและนำเสนอกระบวนการผลิตหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวกับ SDG9 และ SDG12นักศึกษาออกแบบและนำเสนอแนวคิดกระบวนการผลิตหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวกับ SDG9 และ SDG122/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
123683902การวิจัยธุรกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น (Introduction to International Business)3(2-2-5)การออกแบบกระบวนการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ SDG9 และ SDG 17นักศึกษาการออกแบบกระบวนการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ SDG9 และ SDG 171/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
133604201การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)3(2-2-5)การนำกลยุทธ์เชิงธุรกิจไปช่วยเหลือ ธุรกิจเชิงวัฒนธรรมของชุมชน สอดคล้องกับ SDG 8 และ SDG11นักศึกษาร่วมกับชุมชนพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับ SDG 8 และ SDG112/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
143653501การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business Management)3(2-2-5)การจัดการนำผลิตภัณฑ์ของชุมชนจำหน่ายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ สอดคล้องกับ SDG 8 และ SDG 11นักศึกษาออกแบบ Application ให้กับผลิตภัณฑ์ของชุมชน สอดคล้องกับSDG 8 และ SDG 111/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
153632101การจัดการการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Management)3(3-0-6)การจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษานำเสนอวิธีการจัดการความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
161551137โครงสร้างไวยากรณ์ภาษาอังกฤษธุรกิจชั้นสูง (Advanced Business English Grammar Structure)3(3-0-6)การพัฒนาไวยกรณ์ภาษาอังกฤษในระดับสูง ที่จำเป็นต่อการทำงาน สอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาฝึก ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ สอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
173684802การฝึกประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจ ระหว่างประเทศ (International Business Internship)3(0-24-0)การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ สอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติงาน และเรียนรู้การทำงานจริง สอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
181553625ภาษาอังกฤษสำหรับการค้าและการธนาคาร (English for Trading and Banking) 3 (3-0-6)การใช้ทักษะภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการค้าและการธนาคารซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาใช้ทักษะภาษาอังกฤษฟัง พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกับการค้าและการธนาคารซึ่งสอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
191553111ภาษาอังกฤษเพื่อการเจรจาต่อรอง (English for Negotiations)3 (3-0-6)การใช้ทักษะภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการเจรจาต่อรองสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาใช้ทักษะภาษาอังกฤษฟัง พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกับการเจรจาต่อรองซึ่งสอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
203682101การจัดการระหว่างประเทศ (International Management)3 (3-0-6)การคิดและจัดการทรัพยากรต่างๆระหว่างประเทศ สอดคล้องกับ SDG 4 SDG 8 SDG 11นักศึกษาคิดและจัดการทรัพยากรต่างๆระหว่างประเทศสอดคล้องกับ SDG 4 SDG 8 SDG 111/2565คณะวิทยาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
213514303ดิจิทัลสำหรับงานเลขานุการ3 (2-2-5)การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้ความรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้ที่มาใช้งานโรงพยาบาล ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 3ให้นักศึกษานำเสนอวิธีการในการให้ความรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประเภทต่าง ๆ สอดคล้องกับ SDG 33/2564คณะวิทยาการจัดการเลขานุการทางการแพทย์
223513306วิธีวิจัยในโรงพยาบาล3 (3-0-6)การวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 3ให้นักศึกษาทำวิจัยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 32/2564คณะวิทยาการจัดการเลขานุการทางการแพทย์
233514802การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเลขานุการทางการแพทย์5(450)ฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับโรงพยาบาลที่ได้ทำความร่วมมือไว้ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 3ให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับโรงพยาบาลที่ได้ทำความร่วมมือไว้ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 32/2564คณะวิทยาการจัดการเลขานุการทางการแพทย์
243513603โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับงานเลขานุการทางการแพทย์3 (2-2-5)การตัดต่อวิดีโอเบื้องต้นเพื่อนำเสนอความรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพ สอดคล้องกับ SDG 3ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มตัดต่อวิดีโอเบื้องต้น เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ สอดคล้องกับ SDG 31/2565คณะวิทยาการจัดการเลขานุการทางการแพทย์
253572505ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน3(2-2-5)การนำเสนอเสนอแนวคิด ด้านการอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม สอดคล้องกับ SDG 4ให้นักศึกษานำเสนอแนวคิดการอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม2/2564คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
261572201การฟัง-พูดภาษาจีนในที่ชุมชน3(2-2-5)การนำเสนอเสนอแนวคิด ด้านการอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม สอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 5ให้นักศึกษาออกแบบคอนเทนต์และสร้างประสบการณ์ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ในสังคมที่มีความหลากหลายทางเพศ2/2564คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
273681202การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ3 (3-0-6)การนำเสนอความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลด้านการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ สอดคล้องกับ SDG 8ให้นักศึกษานำเสนอแนวคิดและวิเคราะห์ปัญหาของการการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการดำเนินการทางด้านธุรกิจระหว่างประเทศ2/2564คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
283681203การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล3 (3-0-6)การนำเสนอแนวคิดทางด้านการจัดองค์การในยุคดิจิทัลและการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ สอดคล้องกับ SDG 8ให้นักศึกษานำเสนอแนวคิดและวิเคราะห์ปัญหาของการการจัดการองค์การที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และทำการวิเคราะห์หาแนวโน้มองค์การที่เหมาะสมในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศในอนาคต ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา2/2564คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
293682207การตลาดระหว่างประเทศยุคดิจิทัล3(2-2-5)การนำเสนอเสนอแนวคิดทางด้านการตลาด ภายใต้สถานการณ์จริง (โรคระบาด สภาวะสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากรศาสตร์ ฯลฯ) รวมไปถึงการวิเคราะห์แนวโน้มทางการตลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สอดคล้องกับ SDG 8ให้นักศึกษานำเสนอแนวคิดทางการตลาด และทำการวิเคราะห์หาแนวโน้มกลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสมในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศในอนาคต3/2565คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
303684201พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนจีนและอาเซียน3(2-2-5)การออกแบบความคิดและนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการ ผ่านทางการค้าอิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน โดยการบูรณาการความคิดทางธุรกิจและแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ สอดคล้องกับ SDG2, SDG 8 และ SDG 11ให้นักศึกษาทำโครงงานการนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการ ผ่านทางการค้าอิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน โดยการบูรณาการความคิดทางธุรกิจและแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ1/2565คณะวิทยาการจัดการจีน-อาเซียน
313001301นวัตกรรมการสื่อข่าวและการรายงานข่าวเชิงลึก3 (0-6-0)ปัญหาและอุปสรรคในการทำข่าว โดยการใช้ Hate Speech และ Hate Crime เข้าสู่ความป่าเถื่อนสมัยใหม่ในสื่อเกี่ยวข้อง SDG 5ให้นักศึกษารวมกลุ่มผลิตข่าวชุมชน ผลิตงานสารคดีข่าวเกี่ยวข้อง SDG 3, SDG 11 , SDG 12  และนำเสนอในสื่อออนไลน์2/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
323012303การสร้างสรรค์นวัตกรรมสื่อเพื่อการปฏิรูป3 (2-2-5)แนวคิดการสื่อสารนวัตกรรม การสำรวจ วิจัย และวิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชน  การวิเคราะห์ผู้ใช้สื่อ การวางแผน ออกแบบและสร้างสรรค์นวัตกรรมสื่อเพื่อการปฏิรูป การประยุกต์ใช้สื่อรูปแบบต่างๆ การติดตาม และประเมินผลสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกี่ยวข้องSDG 16นักศึกษารวมกลุ่มนำเสนอโครงการออกแบบสื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างมีส่วนร่วมกับชุมชน ที่เกี่ยวข้อง SDG 11, SDG 162/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
333021501การรู้เท่าทันสื่อและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  (Media Literacy and Social Changes)3 (3-0-6)แนวทางการพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อ โดยการสร้างสรรค์กิจกรรมและเนื้อหาเพื่อพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อที่เกี่ยวข้อง SDG 3 และ SDG 4ให้นักศึกษาออกแบบกิจกรรมหรือฝึกปฏิบัติการผลิตสื่อในการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อที่เกี่ยวข้อง SDG 3 และ SDG 42/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
343042501การบ่มเพาะต้นกล้าสู่นวัตกรรมการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ (Incubation of New Bloods an Innovative Entrepreneurs for Entertainment Business)3 (0-6-0)การสร้างสรรค์เนื้อหาสื่อโดยบูรณาการความรู้ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น และใช้ทักษะการทำงานรูปแบบผู้ประกอบการสอดคล้องกับ SDG 8, SDG 11การใช้ทักษะผู้ประกอบโดยออกแบบให้นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการที่สนใจโดยกำหนดบทบาทในธุรกิจจำลองและนำเสนองานการผลิตสื่อคลิปวิดีโอสั้นในหัวข้อที่เกี่ยวกับศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น จากการบูรณาการความรู้ข้อมูลทางวัฒนธรรม2/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
353002601วิจัยการสื่อสารทางธุรกิจ การตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค3 (2-2-5)ออกแบบหัวข้อการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) และ SDG 9: การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)นักศึกษาทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) และ SDG 9: การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)2/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
363051501เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมผู้บริโภคและผู้ใช้สื่อ3 (3-0-6)ออกแบบโครงงานที่เกี่ยวข้องกับ SDG 12 : การสรรหาแหล่งอาหารและสิ่งอุปโภคบริโภค และการจัดการขยะและการลดการใช้ทรัพยากร (Responsible Consumption and Production)นักศึกษาจัดทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับ SDG 12 : การสรรหาแหล่งอาหารและสิ่งอุปโภคบริโภค และการจัดการขยะและการลดการใช้ทรัพยากร (Responsible Consumption and Production)2/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
373003802ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านนิเทศศาสตร์นวัตกรรมและผู้ประกอบการธุรกิจ 14 (216)ฝึกประสบการณ์ด้านนิเทศศาสตร์ในสถานประกอบการ องค์กรอิสระ สถานบริการทางสุขภาพ หน่วยงาน ธุรกิจอื่นหรือสถานประกอบการในประเทศ นำเสนอผลงานผ่านแฟ้มสะสมงานซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 8นักศึกษาฝึกประสบการณ์ด้านนิเทศศาสตร์ในสถานประกอบการ องค์กรอิสระ สถานบริการทางสุขภาพ หน่วยงาน ธุรกิจอื่นหรือสถานประกอบการในประเทศ นำเสนอผลงานผ่านแฟ้มสะสมงานซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 8ฤดูร้อน/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
383012502ศักยภาพความเป็นนักนิเทศศาสตร์1 (0-3-0)ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับ SDG 4, ทักษะชีวิตและการทำงาน สอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาพัฒนาทักษะในด้านต่าง ๆ เองไม่ว่าจะเป็นศิลปะ ถ่ายภาพ ดนตรี หรือการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ทั้งทางมือถือ คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียนอาจแสดงสดหรือคลิปพร้อมระบุว่าใช้เวลากี่วันกี่ชั่วโมงสอดคล้องกับ SDG 4 นักศึกษารวมกลุ่มเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการผ่านนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ผ่านศิลปะการเล่าเรื่อง นักศึกษาผลิตคลิปลงในช่องยูทูป ของนักศึกษาเองเน้นการสร้างแบรนด์ให้ตัวเอง สอดคล้องกับ SDG 4, SDG 8ฤดูร้อน/2564คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
393004501การออกแบบนวัตกรรมสื่อทางธุรกิจ3 (2-2-5)ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมสื่อทางธุรกิจ การสร้างเนื้อหา การวิเคราะห์ผู้ใช้สื่อ การวิเคราะห์งบประมาณทางธุรกิจ การสร้างสรรค์ออกแบบสื่อด้วยโปรแกรมประยุกต์ นำเสนอนวัตกรรมสื่อทางธุรกิจ และการประเมินนวัตกรรมสื่อ สอดคล้องกับ SDG 4, SDG 8, SDG 9ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มออกแบบนวัตกรรมสื่อ ร่วมกับรายวิชาการวิเคราะห์และสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์และมัลติมีเดีย รายวิชาการจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤติ และการสร้างกระแสเชิงสร้างสรรค์ในสื่อใหม่ ส่งเป็นโครงการ รายได้งบประมาณนำเสนอผลงานออกแบบนวัตกรรมสื่อทางธุรกิจและการประเมินนวัตกรรมสื่อทางธุรกิจ ประกอบการรายงานสอดคล้องกับ SDG 4, SDG 8, SDG 91/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
403022601วารสารศาสตร์ สารสนเทศและการประยุกต์ใช้3 (2-2-5)การใช้โปรแกรมประยุกต์ WIXการจัดวางภาพ เลือกภาพ สี ในการผลิตสื่อประเภทต่างๆ การผลิตงานอินโฟกราฟิกด้วยโปรแกรมประยุกต์ CANVAเกี่ยวข้องSDG 8ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มออกแบบเว็บไซต์ และอินโฟกราฟิก ด้วยโปรแกรม WIX/CANVA เกี่ยวข้องSDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
413014204นวัตกรรมเทคโนโลยี การวิเคราะห์โพลและการสำรวจสถานการณ์ทางสังคม  (Technology Innovation, Poll Analysis and Social Situation Survey)3 (2-2-5)การสำรวจสถานการณ์ทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจจากการทำโพล เกี่ยวกับ SDG 3และ SDG 11ให้นักศึกษาออกแบบการทำโพล ตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหาหัวข้อการทำโพล ออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ  วิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลโพลที่เกี่ยวกับ SDG 3 SDG 11และ SDG 16 การออกแบบและการทำโพล การบูรณาการความคิดทางธุรกิจและเทคโนโลยีดิจิทัล1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
423013501ความสุขของการเป็นผู้ประกอบการ  (Happiness of Being Entrepreneurs)1(0-3-0)การพัฒนาศักยภาพของตนเองและการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการเป็นผู้ประกอบการที่สอดคล้องกับ   SDG 8ให้นักศึกษาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะSoft skillsที่จำเป็นสำหรับการทำงานและมีประสบการณ์ในการเป็นวิทยากรในการพัฒนาSoft skillsในหัวข้อต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับ   SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
433001303นวัตกรรมการผลิตสื่อจากทุนความเป็นไทย (Media Production Innovation of Thainess)3 (0-6-0)– กรณีศึกษาการสร้างนวัตกรรมสื่อที่แก้ไข SDG ในด้านต่างๆ– มอบหมายงานนศ. ให้ออกแบบนวัตกรรมสื่อที่ปัญหา SDG ในด้านต่างๆ1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
443011206การเล่าเรื่องและการสร้างสรรค์เนื้อหา (Storytelling and Content Creativity)3(2-2-5)กรณีศึกษาการเล่าเรื่องของสื่อที่แก้ไข SDG ในด้านต่างๆ– มอบหมายงานนศ. ให้ออกแบบสื่อที่เล่าเรื่องปัญหา SDG ในด้านต่างๆ1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
453004201กลยุทธ์การสื่อสารทางธุรกิจและการออกแบบสื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลงสุขภาวะ (Business Communication Strategy and Media  Design for Well-Being Changes)3(2-2-5)กรณีศึกษา SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)  SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)การมอบหมายงานให้ออกแบบกลยุทธ์การสื่อสารที่ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืนของชุมชน1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
463002302นวัตกรรมการออกแบบ การพัฒนาร้านค้าออนไลน์                  และการตลาดออนไลน์ด้านธุรกิจสุขภาพ 3 (2-2-5)ออกแบบร้านค้าออนไลน์ที่สนับสนุน SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)นักศึกษาจัดทำร้านค้าออนไลน์ที่สนับสนุน SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
473001302การบริหารจัดการดิจิทัลคอมเมิร์ซ3 (2-2-5)ออกแบบโครงงานการบริหารจัดการดิจิทัลคอมเมิร์ช ในรูปแบบบูรณาการเพื่อสนับสนุน SDG 2 : การขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมการเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger)  SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)นักศึกษาจัดทำโครงงานการบริหารจัดการดิจิทัลคอมเมิร์ช ในรูปแบบบูรณาการเพื่อสนับสนุน SDG 2 : การขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมการเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger)  SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
483001501การสร้างผู้ประกอบการธุรกิจสไตล์สตาร์ทอัพ3 (2-2-5)ออกแบบโครงงานในเชิงนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนเชิงนวัตกรรมรดิจิทัลคอมเมิรSDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)  SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) SDG 9: การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)นักศึกษาจัดทำโครงงานในเชิงนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนเชิงนวัตกรรมรดิจิทัลคอมเมิรSDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  SDG 9: การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)1/2565คณะวิทยาการจัดการนิเทศศาสตร์นวัตกรรม
493604201การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)3(3-0-6)การฝึกให้นักศึกษามีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การทำงานเป็นทีม การวางแผนกลยุทธ์ และการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเกี่ยวข้องกับ SDG 8ให้นักศึกษาจัดทำแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมด้านอาหาร เข้าร่วมการประกวดในโครงการ Smart Start Idea by GSB Startup และ SDU Startup Thailand League โดยนำเสนอผลงานในรูปแบบคลิป VDO2/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
503661106การจัดการธุรกิจเบื้องต้น (Introduction to Business Management)3(3-0-6)การจำลองการทำธุรกิจในรูปแบบออนไลน์ ที่เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 8– ให้นักศึกษาจำลองการทำธุรกิจในรูปแบบออนไลน์ เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
513661203จิตบริการ (Services Mind)3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมให้นักศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจการของหลักสูตรฯ คณะฯ มหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เน้นการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้นักศึกษาออกแบบเนื้อหาและสร้างประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้อง SDG 4 นำเสนอในสื่อออนไลน์และออฟไลน์ และให้นักศึกษาอาสาเข้าร่วมกิจกรรมส่วนร่วมสามารถนำมาเป็นคะแนนเก็บในชั้นเรียนได้2/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
523662102การวางแผนและการควบคุม (Planning and Controlling)3 (3-0-6)การวางแผนการจัดการธุรกิจให้นักศึกษาฝึกการวางแผนทางธุรกิจยุค Next normal ที่สอดคล้องกับ SDG 7 SDG 8 และ SDG 122/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
533662203ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication)3 (2-2-5)หลักการใช้ภาษาอังกฤษในการสนทนาทางโทรศัพท์ในที่ทำงานนักศึกษาได้แสดงบทบาทสมมติในการสนทนาทางโทรศัพท์ในที่ทำงาน การจัดการประชุม และนำเสนอรูปแบบสถานการณ์จำลองเกี่ยวกับการนำเสนอผลงาน ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
543662307การจัดการโครงการ (Project Management)3 (2-2-5)นักศึกษาเลือกหัวเรื่องที่สนใจ นำมาคิดออกแบบและกำหนดหัวข้อในการเขียนโครงการ   พร้อมทั้งนำเสนอโครงการ เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะในการทำงานมีประสบการณ์ และได้ลงมือปฏิบัติงานจริง ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการ และจัดกิจกรรมอบรมการใช้โปรแกรม Project Management โดยการเชิญวิทยากรมาบรรยาย ให้ความรู้เพิ่มเติม เป็นการสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานจริง ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
553663102การจัดการการปฏิบัติการ (Operations Management)3 (3-0-6)การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานเกี่ยวข้องกับ SDG 8 ,SDG 12นักศึกษานำเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 12 และนำเสนอในรูปแบบสื่อออนไลน์และออฟไลน์2/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
563663105การจัดการนวัตกรรม (Innovation Management)3 (2-2-5)การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานเกี่ยวข้องกับ SDG 8 ,SDG 12ให้นักศึกษาฝึกสร้างผลงานนวัตกรรมที่สร้างสรรค์และนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับ SDG 12 ในรูปแบบสื่อออนไลน์และออฟไลน์2/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
573663219 3(3-0-6)การศึกษาดูงานสถานประกอบการการจัดการสินค้าคงคลังในงานโลจิสติกส์ SDG 4นักศึกษานำเสนอแนวคิดการจัดการสินค้าคงคลัง ผ่านสื่อ คลิปวีดีโอ SDG 4, SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
583663223เทคนิคงานเลขานุการ (Secretarial Techniques)3 (2-2-5)เทคนิคการใช้โทรศัพท์ เทคนิคการจัดการประชุม ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริงในการสื่อสารทางโทรศัพท์ และการจัดการประชุม ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
593663304ภาวะผู้นำและการทำงาน เป็นทีม (Leadership and Teamwork)3 (2-2-5)1) การศึกษาค้นคว้าบทความวิชาการ/บทความวิจัย 2) การนำเสนองาน 3)งานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย 4) เกม 5) จัดทำโครงการ 6)อินโฟกราฟิก (Infographic) และการนำเสนอ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 81) ให้นักศึกษา ศึกษาแนวคิด/ทฤษฎีจากบทความวิจัย/วิชาการเกี่ยวกับภาวะผู้นำ และการเลือกรูปแบบภาวะผู้นำที่เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2) ให้นักศึกษาบอกถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมที่ควรแสดงต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 8
2/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
603663307เทคนิคการจัดประชุมและสัมมนา (Meeting and Seminar Techniques)3(2-2-5)การจำลองการจัดประชุม การจัดสัมมนาในรูปแบบออนไลน์ การสัมภาษณ์ผู้จัดประชุมและสัมมนาจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 81) ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดประชุมในรูปแบบออนไซต์ เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 8  2) ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดสัมมนาในรูปแบบออนไลน์ เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 8 3) ให้นักศึกษาสัมภาษณ์ผู้จัดประชุมและสัมมนาจากหน่วยงานภาครัฐและภาค เอกชน เกี่ยวข้องกับ SDG 82/2564คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
613622401การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management)3(3-0-6)มอบหมายให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม และ การนำเสนอผลงาน/คลิปวิดีโอ โดยการสัมภาษณ์บุคลากรขององค์กรต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 8แบ่งกลุ่มผู้เรียนเพื่อจัดทำสื่อเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในรูปแบบคลิปวิดีทัศน์ หรือ อินโฟกราฟิก ข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคลากรต่างๆ โดยบูรณาการร่วมกับรายวิชา การจัดโครงสร้างองค์การและการสื่อสาร ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
623661107องค์การและการจัดการ  (Organization and Management )3 (3-0-6)การจัดการความเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการจัดการในยุคการเปลี่ยนแปลงนักศึกษานำเสนอแนวคิดการจัดการความเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการจัดการในยุคการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับ SDG 7 และ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
633661108เศรษฐศาสตร์การจัดการ (Managerial Economics)3 (3-0-6)การคิดวิเคราะห์ และการคำนวณหาต้นทุน รายได้ กำไร รวมถึงการคำนึงถึงปัจจัยภาค แมคโครอีโคโนมิค เพื่อใช้ตัดสินใจในการลงทุน ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาทำการฝึกปฏิบัติ (case study) เป็นการสร้างทักษะการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์เพื่อประยุกต์ใช้ในการทำงาน และตอบสนองความต้องการของนายจ้าง1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
643661205การพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทสังคม (Personality Development and Social Etiquette)3(2-2-5)SDG 8 การส่งเสริมให้นักศึกษาคำนึงถึงมารยาททางสังคม และการมีบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับการทำงาน เพื่อสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานให้นักศึกษาออกแบบเนื้อหาและสร้างประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้อง SDG 8 นำเสนอในสื่อออนไลน์ เผยแพร่ความรู้ต่อสาธารณะชน1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
653662104เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการข้อมูล (Information Technology for Data Management)3(2-2-5)การฝึกทักษะการใช้โปรแกรม Excel และ Microsoft Forms ในการออกแบบงานสารสนเทศเพื่อการจัดการ สอดคล้องกับ SDG8นักศึกษาออกแบบระบบระบบแจ้งเตือนภัย โดยอาศัยข้อมูลจากการฝึกปฏิบัติการ พร้อมนำเสนอในชั้นเรียน1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
663662306การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการธุรกิจ (Quantitative Analysis for Business Management)3 (3-0-6)การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานและการอนุรักษ์พลังงานเกี่ยวข้องกับ SDG 7 SDG 8,SDG 12นักศึกษานำเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับตัวแบบเชิงสินคาคงคลังที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานซึ่งสอดคล้องกับ SDG 7 และในรูปแบบสื่อออนไลน์และออฟไลน์1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
673663103ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ (Smart Entrepreneur)3(2-2-5)การพัฒนาชุมชนในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ปี 65 การฝึกจำลองการทำธุรกิจ การประกวดคลิปโฆษณา (X campus) และการฝึกปฏิบัติงานร้านคาเฟ่ ที่เกี่ยวข้องกับ SDG 1, SDG 4, SDG 7, SDG 8, SDG 11, SDG 171) ให้นักศึกษาจำนวน 6 คน ร่วมพัฒนาชุมชนในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ปี 65 เกี่ยวข้องกับ SDG 1, SDG 4, SDG 8, SDG 11, SDG 17 2) ให้นักศึกษาฝึกจำลองการทำธุรกิจ โดยมีการนำเสนอสินค้าจริง และสร้างเนื้อหาใน TikTok เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 8 3) ให้นักศึกษาเข้าร่วมประกวดคลิปโฆษณา (X campus) เกี่ยวข้องกับ SDG 8, SDG 17  4) การฝึกปฏิบัติงานร้านคาเฟ่ เกี่ยวข้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
683663107การจัดการสำนักงาน (Office Management)3(3-0-6)การสัมภาษณ์ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานในสำนักงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และการออกแบบสำนักงานที่เหมาะสมในยุคดิจิทัล ที่เกี่ยวข้องกับ SDG 7 SDG 81) ให้นักศึกษาสัมภาษณ์ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานในสำนักงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 8 2) ให้นักศึกษาออกแบบสำนักงานที่เหมาะสมในยุคดิจิทัล เกี่ยวข้องกับ SDG 7, SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
693663218ภาษาอังกฤษสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ (English for Entrepreneur)3 (2-2-5)การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อผู้ประกอบการในปัจจุบันสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาฝึกเขียนเอกสารทางธุรกิจที่ต้องใช้สำหรับการทำงานเป็นภาษาอังกฤษ สอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
703663222การนำเสนอผลงานทางธุรกิจ (Business Presentation)3(2-2-5)SDG 8 การส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งโลกอนาคตที่เหมาะสมกับการทำงาน เพื่อสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานให้นักศึกษาออกแบบเนื้อหาและสร้างประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้อง SDG 8 นำเสนอในสื่อออนไลน์ เผยแพร่ความรู้ต่อสาธารณะชน1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
713663304ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (Leadership and Teamwork)3 (2-2-5)มอบหมายงานกลุ่มให้จัดทำแผนการสื่อสารด้านการตลาด โดยบูรณาการร่วมกับรายวิชาการจัดโครงสร้างองค์การและการสื่อสาร ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 8แบ่งกลุ่มผู้เรียนเพื่อจัดทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน 1)การสื่อสารแผนการตลาด 2)จัดทำโครงการ/คลิปวิดีโอ 3) อินโฟกราฟิก (Infographic) ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4 และ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
723663902การวิจัยทางการจัดการ (Management Research)3(2-2-5)การฝึกให้นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยี การทำงานเป็นทีม การเก็บรวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูล ซึ่งเกี่ยวข้องกับ SDG 8ให้นักศึกษาออกแบบและปฏิบัติตามกระบวนการวิจัย โดยนำโปรแกรมสำเร็จรูปเข้ามาใช้ พร้อมนำเสนอในรูปแบบอินโฟกราฟิก1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
733664202สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Office)3 (2-2-5)การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานในระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาฝึกงานในสำนักงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย1/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
743664302สัมมนาทางการจัดการ (Seminar in Management)3(2-2-5)เชิญผู้ประกอบการ วิทยากร บรรยาย และวิพากษ์งานนักศึกษา SDG 4, SDG 8นักศึกษาจัดสัมมนาทางการจัดการ SDG 4, SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
753664306การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Network Management)    3(3-0-6)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์องค์กร(การสร้างภาพลักษณ์)  ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 4,7 และ8ให้นักศึกษาผลิต Content เพื่อสร้างสรรค์สังคมและสร้างภาพลักษณ์องค์กร ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับ SDG 4,7 และ81/2565คณะวิทยาการจัดการการจัดการ
763644103การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม3(3-0-6)รณรงค์การให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม การลด ละ การสร้างขยะ และกิจกรรมเพื่อลดโลกร้อนSDG 7: การอนุรักษ์พลังงานและการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Affordable and Clean Energy)2/2564คณะวิทยาการจัดการการตลาด
773643306การตลาดสำหรับวิสาหกิจชุมชน3 (2-2-5)การศึกษาร่ามกับชุมชนและท้องถิ่นในการแก้ปัญหาต่างของชุมชนโดยใช้ความรู้ทางการตลาดSDG 1: การสนับสนุนการขจัดความยากจนสำหรับนักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (No Poverty) SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) SDG10: การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities)1/2565คณะวิทยาการจัดการการตลาด
783824101รายงานการเงินและการวิเคราะห์3 (3-0-6)ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับการเปิดเผยด้านความยั่งยืน ฉบับที่ 1 เรื่อง ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน  ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับการเปิดเผยด้านความยั่งยืน ฉบับที่ 2 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ สอดคล้องกับ SDG 8  และ SDG 13นักศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับการเปิดเผยด้านความยั่งยืน และทำการศึกษาแนวปฏิบัติของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืน1/2565คณะวิทยาการจัดการบัญชี
793561205การจัดการทางการเงิน (Financial Management)3(3-0-6)การนำเสนอความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลด้านการจัดการทางการเงิน สอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษานำเสนอแนวคิดและวิเคราะห์ปัญหาของการบริหารเงินสดในธุรกิจ และการนำเทคโนโลยีการเงินสำหรับการให้บริการทางการเงินในธุรกิจยุคดิจิทัล ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการบริหารธุรกิจ
803561401การบริหารทรัพยากรบุคคลและองค์การ (Human Resource and Organizational Management)3 (3-0-6)การบริหารผลการปฏิบัติงาน และค่าตอบแทน และนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการบริหารธุรกิจ
813561105กรอบแนวคิดทางการตลาดในยุคดิจิทัล Marketing Conceptual Framework in the Digital Era3(3-0-6)การออกแบบเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 8นักศึกษาสามารถออกแบบเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งสอดคล้องกับ SDG 81/2565คณะวิทยาการจัดการบริหารธุรกิจ

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65)

ที่รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิตเนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับSDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษาคณะหลักสูตร/สาขาวิชา
14024908โครงการวิจัยสำหรับเทคโนโลยีเคมี3(0-6-3)ส่งเสริมความแข็งแกร่งของขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนไปสู่รูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น SDG12ทำการวิจัยที่สอดคล้องที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเคมี2/2564 เทคโนโลยีเคมี
24224801การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์3(450)การออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ SDG8, SDG9นักศึกษาได้ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ ทำให้ได้บูรณาการความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนมา ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง SDG8, SDG92/2564 หลักสูตรวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์
34061105นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม(ecosystem and environment)3(3-0-6)1. หลักการและแนวคิดทางระบบนิเวศวิทยาจัดกิจกรรม problem based learning การอภิปรายกลุ่ม การนำเสนอ1/2565 หลักสูตรอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณภัย
4   2. ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาในการศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์วิชานี้สอดคล้องกับ SDG ข้อ 14 และ ข้อ 15   
54094411การวิจัยทางคณิตศาสตรศึกษา3(2-2-5)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4      มีดังนี้ภาคเรียนที่ 2/2564 คณิตศาสตร์
6   เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Instruction) ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผลการวิจัยประกอบการสอน มี 3 ขั้นตอน 1) รวบรวมบทคัดย่อและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) ค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม 3) ศึกษารายงานวิจัย สรุปความรู้ และนำเสนอ   
7   1) งานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาระจำนวนและการดำเนินการและทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์2) อภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ   
8   2) งานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาระพีชคณิตและทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์3) การคิดวิเคราะห์ นำเสนอความคิด และอภิปรายในเชิงวิชาการเกี่ยวกับงานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆและทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์   
9   3) งานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาระการวัด เรขาคณิต และทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์4. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง   
10   4) งานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาระความน่าจะเป็นและสถิติ และทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 8     มีดังนี้   
11   SDG 8 :การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Instruction) ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย มี 5 ขั้นตอน 1) สร้างความตระหนักถึงประเด็นปัญหา 2) วิเคราะห์และแสวงหาความรู้ 3) ตัดสินใจเลือก 4) อภิปรายผล 5) นำเสนองาน   
12   เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้2) อภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ   
13   1) แนวทางในการพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนและงานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์3) การคิดวิเคราะห์ นำเสนอความคิด และอภิปรายในเชิงวิชาการเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนและงานวิจัยทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์   
14   2) ฝึกปฏิบัติการกำหนดหัวข้อและสัมมนานำเสนอหัวข้อการวิจัยในชั้นเรียน4) ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง   
15   3) ฝึกปฏิบัติการกำหนดโครงร่างและสัมมนานำเสนอโครงร่างการวิจัยในชั้นเรียน    
164094604ศาสตร์และศิลป์แห่งการสอนคณิตศาสตร์      (Mathematics Pedagogical Content Knowledge)3(2-2-5)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4      มีดังนี้ภาคเรียนที่ 2/2564 คณิตศาสตร์
17   เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่าน Professional Learning Community (PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) รวมกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ 2) วิเคราะห์และระบุปัญหา/สิ่งที่ต้องการพัฒนา 3) ออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/ นวัตกรรม 4) วิพากษ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุงแก้ไข 5) จัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม 6) ประเมินผล/สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม และ 7) สรุปและเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม บูรณาการกับProblem-oriented Teaching Method ซึ่งประกอบด้วย 1) Cognitive Problem 2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results  4) Method Extensions  5) Method Comparisons 6) Sum-up and Increasing   
18   1) เทคนิคและวิธีสอนคณิตศาสตร์ เทคนิคการจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์2) อภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ   
19   2) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และการวางแผนศึกษาสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน3) การคิดวิเคราะห์ นำเสนอความคิด และอภิปรายในเชิงวิชาการเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีสอนคณิตศาสตร์ เทคนิคการจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และการวางแผนศึกษาสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน   
20    4) ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง   
21   SDG 8 :การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 8     มีดังนี้   
22   เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่าน Professional Learning Community (PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) รวมกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ  2) วิเคราะห์และระบุปัญหา/สิ่งที่ต้องการพัฒนา 3) ออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/ นวัตกรรม 4) วิพากษ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุงแก้ไข 5) จัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม 6) ประเมินผล/สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม และ 7) สรุปและเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้/กิจกรรม/นวัตกรรม บูรณาการกับProblem-oriented Teaching Method ซึ่งประกอบด้วย 1) Cognitive Problem 2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results 4) Method Extensions  5) Method Comparisons  6) Sum-up and Increasing   
23   1) การเขียนแผนการสอน การใช้สื่อการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล2) อภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ   
24   2) ฝึกปฏิบัติจัดทำแผนการสอน วางแผนศึกษาสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และทดลองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยมีการดำเนินงานผ่านกระบวนการศึกษาและพัฒนาบทเรียน3) การคิดวิเคราะห์ นำเสนอความคิด และอภิปรายในเชิงวิชาการเกี่ยวกับการเขียนแผนการสอน การใช้สื่อการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การพัฒนาและทดลองใช้บทเรียนคณิตศาสตร์ด้วยกระบวนการศึกษาและพัฒนาบทเรียน   
25   3) ฝึกปฏิบัติการกำหนดโครงร่างและสัมมนานำเสนอโครงร่างการวิจัยในชั้นเรียน4) ฝึกปฏิบัติจัดทำแผนการสอนคณิตศาสตร์ที่มีการออกแบบกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ส่งเสริมการนำไปใช้ในชีวิตจริงและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม วางแผนศึกษาสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และทดลองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยมีการดำเนินงานผ่านกระบวนการศึกษาและพัฒนาบทเรียน   
26    5) ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง   
274143502ปฏิบัติการสุคนธศาสตร์ (Aromatherapy Laboratory)1(0-3-2)ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเคมีน้ำหอม กระบวนการสกัด และวิธีการผลิตน้ำหอมจากพืชสมุนไพรไทยและ/หรือท้องถิ่นสุพรรณบุรี เพื่อนำไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์สุคนธศาสตร์ ผนวกกับแนวคิดตามหลักวิชาการที่ถูกต้องของวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง สอดคล้องกับ SDGs  9นักศึกษาสร้างผลิตภัณฑ์สุคนธศาสตร์ผสมสารแต่งกลิ่นที่สกัดจากพืชที่ให้กลิ่นหอมในวิทยาเขตสุพรรณบุรี เช่น ดอกมะลิ ดอกโมก เป็นต้น โดยนำพืชที่ได้มาสกัดกลิ่นและผสมในผลิตภัณฑ์ที่นักศึกษาออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่  สอดคล้องกับ SDGs  92/2564 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
284144115การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ ความงาม และเครื่องสำอาง (Health and Cosmetic Entrepreneurship)3(2-3-6)เรียนรู้การเป็นผู้ประกอบการด้านสุขภาพ ความงามและเครื่องสำอาง ทั้งด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม แนวคิดและหลักการตลาดสมัยใหม่ รวมทั้ง การวิเคราะห์การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับ SDGs  8 และ 9นักศึกษาเรียนรู้การเป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุชภาพ ความงาม และเครื่องสำอาง ผ่านการเรียนรู้โดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญด้านการทำธุรกิจ และผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จด้านเครื่องสำอาง สอดคล้องกับ SDGs  8 และ 92/2564 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
294144302เทคโนโลยีขั้นสูงในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง (Advanced Technology in Cosmetic Product Development)3(3-0-6)เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่และนาโนเทคโนโลยีในการผลิตวัตถุดิบเครื่องสำอางหรือการนำนาโนเทคโนโลยีมาสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง สอดคล้องกับ SDGs  9นักศึกษาตั้งตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีเทคโนโลยีนาโน โดยเรียนรู้จากบทความวิจัยของอาจารย์ และบทความวิจัย ซึ่งตีพิมพ์ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ นอกจากนี้ นักศึกษามีการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีใหม่มาทำให้ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าสูงขึ้น  สอดคล้องกับ SDGs  91/2565 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
304121504การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 23(2-2-5)ประยุกต์การเขียนโปรแกรมกับโจทย์กรณีศึกษา สอดคล้องกับ SDG3นักศึกษาฝึกปฏิบัติเขียนโปรแกรมด้านการคำนวณค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เกี่ยวข้องกับ SDG 32/2564 เทคโนโลยีสารสนเทศ
314121314โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม1(1-0-2)การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม เพื่อสามารถเลือกใช้งานในอุตสหากรรมที่เกี่ยวข้องได้ สอดคล้องกับ SDG 8 , SDG9นักศึกษาแสดงขั้นตอนการทำงานของโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมแต่ละแบบได้ เกี่ยวข้องกับ  SDG 8 , SDG91/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
324121315ปฏิบัติการโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม2(0-4-2)ประยุกต์การเขียนโปรแกรมสำหรับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมที่เหมาะสมในการใช้งานกับอุตสหากรรมที่เกี่ยวข้องได้ สอดคล้องกับ  SDG 8 , SDG9นักศึกษาเขียนโปรแกรมการทำงานของโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมแต่ละแบบได้ เกี่ยวข้องกับ  SDG 8 , SDG91/2566 เทคโนโลยีสารสนเทศ
334121603การเป็นผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์1(1-0-2)หลักการเป็นผู้ประกอบการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เข้าใจวิธีการสร้างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ทางธุรกิจ การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้ในการประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สอดคล้องกับ  SDG 8พัฒนาแผนธุรกิจ สามารถวัดและประเมินผลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และเข้าใจกฎหมายและภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สอดคล้องกับ SDG 82/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
344121604ปฏิบัติการการเป็นผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์2(0-4-2)ปฏิบัติการเป็นผู้ประกอบการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เขียนแผนธุรกิจ ใช้เครื่องมือของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้แพลตฟอร์มพาณิชอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ สามารถวิเคราะห์การตลาดด้วยโปรแกรมธุรกิจอัจฉริยะ สอดคล้องกับ  SDG 8ใช้แพลตฟอร์มพาณิชอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ สามารถวิเคราะห์การตลาดด้วยโปรแกรมธุรกิจอัจฉริยะ สอดคล้องกับ SDG 82/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
354122213การจัดการฐานข้อมูล1(1-0-2)การจัดการฐานข้อมูลที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับ SDG8นักศึกษาศึกษาการออกแบบจากตัวอย่างฐานข้อมูลในอุตสากรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับ SDG82/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
364122214ปฏิบัติการการจัดการฐานข้อมูล2(0-4-2)ปฏิบัติการการจัดการฐานข้อมูล โดยใช้กรณีศึกษาที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับ SDG8นักศึกษาฝึกปฏิบัติการออกแบบระบบฐานข้อมูลจา กรณีศึกษาที่สอดคล้องกับอุตสากรรมและธุรกิจต่างๆ สอดคล้องกับ SDG82/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
374121317ปฏิบัติการการออกแบบกราฟิกส์และแอนิเมชันสำหรับธุรกิจดิจิทัล2(0-4-2)การออกแบบกราฟิกส์และแอนิเมชันสำหรับธุรกิจดิจิทัล ปฏิบัติการการตกแต่งภาพกราฟิก ปฏิบัติการออกแบบแอนิเมชัน SDG8, SDG9นักศึกษาฝึกออกแบบภาพกราฟิกเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจต่างๆ การออกแบบและสร้างแอนิเมชัน SDG8, SDG91/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
384123325การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่3(2-2-5)ออกแบบโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเป็นนวัตกรรมที่แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือปัญหาด้านอุตสาหกรรมและธุรกิจต่างๆ สอดคล้องกับ SDG8นักศึกษาฝึกออกแบบโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเป็นนวัตกรรมที่แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือปัญหาด้านอุตสาหกรรมและธุรกิจต่างๆ สอดคล้องกับ SDG82/2565 เทคโนโลยีสารสนเทศ
394123678ระบบชาญฉลาด (Intelligence Systems)3(2-2-5)แนวคิดและวิธีการของระบบชาญฉลาด พัฒนาทักษะพื้นฐานการแก้ปัญหาด้วยการค้นหา การวางแผน ความไม่แน่นอนกับการหาเหตุผลจากความรู้ การเรียนรู้ การประมวลผลภาษาธรรมชาติเชิงการใช้งาน การรับรู้ และหุ่นยนต์การฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ2/64 วิทยาการคอมพิวเตอร์
404123624การเรียนรู้ของเครื่องจักร (IMachine Learning)3(2-2-5)การเรียนรู้ของเครื่องจักรเบื้องต้น การเรียนรู้แบบมีการกำกับ การเรียนรู้แบบไม่มีการกำกับ การเรียนรู้แบบเสริมกำลัง การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักรการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ2/64 วิทยาการคอมพิวเตอร์
414123685การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญู (Big Data)3(2-2-5)ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ แหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ กระบวนการในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ การบริหารข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้งานข้อมูลขนาดใหญ่ในองค์กรการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ1/65 วิทยาการคอมพิวเตอร์
424123679โครงข่ายหน่วยระสาท (Neuron Networks)3(2-2-5)พื้นฐานเครือข่ายหน่วยประสาท เครือข่ายหน่วยประสาทอย่างง่าย backpropagation เครือข่ายหน่วยประสาท เรเดียลเบซิส ฟังก์ชั่นเครือข่ายหน่วยประสาท รีเคอเรนต์เครือข่ายหน่วยประสาท ทฤษฎีอะแดปทิฟเรโซแนนซ์ เซลฟ์ออร์กาไนซิ่งเครือข่ายหน่วยประสาท การประยุกต์ใช้เครือข่ายหน่วยประสาทการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ1/65 วิทยาการคอมพิวเตอร์
434123692การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing)3(2-2-5)แนวคิดพื้นฐานของการประมวลผลบนกลุ่มเมฆ คุณลักษณะสำคัญของการประมวลผลบนกลุ่มเมฆ ประเภทของการประมวลผลบนกลุ่มเมฆ เทคโนโลยีต่างๆที่ใช้เวอร์ชวลไลเซชั่น การจัดการบนกลุ่มเมฆ รูปแบบการให้บริการของบนกลุ่มเมฆ ความปลอดภัยในบนกลุ่มเมฆ การใช้เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวกับบนกลุ่มเมฆการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ2/64 วิทยาการคอมพิวเตอร์
444123690อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things)3(2-2-5)หลักพื้นฐานและเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง โพรโทคอสำหรับอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง เช่น RFID ,NFC ,ZigBee ,CDMA ,LTE ฯลฯ การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและเว็บเซอร์วิส การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์รอบข้าง แฟลตฟอร์มสำหรับอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง กรณีศึกษา ตัวอย่างเช่น สมาร์ตกริด สมาร์ตโฮม สมาร์ตซิตี้ หรืออื่นๆการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ2/64 วิทยาการคอมพิวเตอร์
454123698การพัฒนาเกม (Game Development)3(2-2-5)หลักการพัฒนาเกม กลยุทธ์ในการสร้างเกม รูปแบบเกม 2 มิติ และ เกม 3 มิติ การวิเคราะห์และออกแบบเกม การออกแบบตัวละคร การควบคุมแอนิเมชัน การแสดงเสียง การควบคุมวิธีการจัดแสงในเกม สถาปัตยกรรมและภาษาโปรแกรมที่ใช้พัฒนาเกมการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ1/65 วิทยาการคอมพิวเตอร์
464124606การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์เชิงโต้ตอบ (interactive Media Design)3(2-2-5)กลวิธีการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์โดยคำนึงถึงผู้ใช้งาน เช่น การออกแบบตัวอักษรและข้อความ การออกแบบสัญลักษณ์ ทฤษฎีสีในงานออกแบบ ภาพถ่าย และการจัดองค์ประกอบของภาพ การเลือกใช้เสียงในงานดิจิทัลมีเดียการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ1/65 วิทยาการคอมพิวเตอร์
474072211อนามัยสิ่งแวดล้อม3(2-2-5)ศึกษาการจัดการน้ำสะอาด การบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอยและของเสียอันตราย การควบคุมมลพิษทางอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน การสุขาภิบาลอาหาร ที่อยู่อาศัย สถาบัน และสถานประกอบการ การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค พาหะนำโรค การจัดการเหตุรำคาญ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและการฝึกสำรวจและวางแผนควบคุมปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม• เป้าหมายที่ 6 : สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้ำและสุขอนามัยสำหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืนคนภาคเรียนที่1 /2565 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
484072329การป้องกันโรคเเละควบคุมโรค3(3-0-6)ศึกษาความหมาย ความสำคัญ แนวคิดและหลักการการป้องกันและควบคุมโรค สาเหตุของการเกิดโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่สำคัญและพบบ่อยในประเทศไทย การติดต่อหรือการแพร่กระจายของโรครวมทั้งแนวทางในการบำบัดรักษา การป้องกันและควบคุมโรค รวมทั้งการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จำเป็น·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่2 /2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
494072511การตรวจประเมินเเละบำบัดโรคเบื้องต้น3(2-2-5)ศึกษาแนวคิด ความสำคัญและหลักการตรวจประเมินและบำบัดโรคเบื้องต้น การประเมินสัญญาณชีพ กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพ วิธีการตรวจคัดกรองโรคและการวินิจฉัยแยกโรคที่เกิดจากการทำงานหรือประกอบอาชีพ การอ่านค่าผลทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น หลักการ ใช้ยาเบื้องต้นที่สำคัญที่ใช้ในสถานประกอบการ·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่2 /2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
504072106สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งเเวดล้อมเเละการทำงาน3(3-0-6)ศึกษากลไกการทำงานของร่างกายและจิตใจภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงาน ความสามารถและข้อจำกัดในการทำงานของร่างกาย การสร้างพลังงานและการประเมินค่าการใช้พลังงาน การประเมินค่าความสมบูรณ์ของร่างกาย ความสามารถสูงสุดในการทำงาน ความเครียดและความเมื่อยล้าจากการทำงาน การจัดตารางเวลาในการพัก สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน หลักในการสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ถูกต้อง·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่2 /2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
514072330หลักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม2(2-0-4)ศึกษาลักษณะปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ที่เป็นสาเหตุก่อให้เกิดอันตราย ต่อสุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการต่างๆ หลักการสำรวจสภาพแวดล้อม ในการทำงาน หลักการสืบค้นและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม กฎหมาย มาตรฐาน และข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตลอดจนหลักการควบคุม และป้องกันอันตราย การสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่2 /2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
524072805การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในชุมชน3(450)ฝึกปฏิบัติงานด้านชุมชน การเรียนรู้ชุมชน ครอบครัวชุมชน การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การบำบัดโรคเบื้องต้น อนามัยสิ่งแวดล้อม ฝึกการเป็นผู้นำด้านสุขภาพ จัดทำโครงการและดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขชุมชนเบื้องต้น·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่ 3/2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
534073334การยศาสตร์ของการทำงาน3(3-0-6)ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการยศาสตร์ กายวิภาคและสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับ การทำงาน การวัดสัดส่วนร่างกายและการประยุกต์สัดส่วนร่างกายในงานการยศาสตร์ ชีวกลศาสตร์ ในการทำงาน การออกแบบเครื่องมือด้วยหลักทางชีวกลศาสตร์ การออกแบบสถานีงานตามหลัก การยศาสตร์ การเห็นและการได้ยิน อุปกรณ์ควบคุมด้วยมือ การควบคุมการทำงานของร่างกาย·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่1 /2565 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
544073620วิจัยทางสาธารณสุข3(2-2-5)ศึกษาความหมาย คำศัพท์เกี่ยวกับชีวสถิติ ระเบียบวิธีทางสถิติ ความน่าจะเป็น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน สหสัมพันธ์และการถดถอย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การประยุกต์ใช้ชีวสถิติในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการใช้โปรแกรมประยุกต์สำหรับในการทำวิจัย การวิเคราะห์ ตลอดจนสรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ·         เป้าหมายที่ 3 : สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัยภาคเรียนที่2 /2564 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
554071306การสาธารณสุขทั่วไป3(3-0-6)การศึกษาประวัติการสาธารณสุข ขอบเขตแนวคิดการสาธารณสุข การสาธารณสุขมูลฐาน การวัดและการประเมินผลสุขภาพ อนามัยครอบครัว โภชนาการอาหารปลอดภัย จิตวิทยาในงานสาธารณสุขเป้าหมายที่ 3:  การสร้างหลักประกันว่าคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดี ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกวัยน และเป้าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้ำ และสุขอนามัยสำหรับทุกคน และมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืนภาคเรียนที่ 1/2565 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65)

คณะ/โรงเรียน….กฎหมายและการเมือง…หลักสูตร…นิติศาสตรบัณฑิต,.รัฐศาสตรบัณฑิต,.รัฐรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต….

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
2564802การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย (Field Experience in Law)5(0-30-0)ศึกษาฝึกงานทางด้านกฎหมายในองค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่งานที่นักศึกษาสนใจและพัฒนาทักษะวิชาชีพสำหรับการทำงาน ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 8ให้นักศึกษาเข้าไปฝึกงานกับหน่วยงานภาครัฐ สำนักงานกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาและทักษะในการทำงานตรงตามความต้องการของนายจ้าง ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 82/2564
2554805การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐศาสตร์ (Field Experience in Political Science)5(0-30-0)ฝึกงานทางด้านรัฐศาสตร์ในองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และองค์กรทางการเมืองทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่งานที่นักศึกษาสนใจและพัฒนาทักษะในการทำงาน ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 8ให้นักศึกษาเข้าไปฝึกงานกับหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และองค์กรทางการเมืองเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาและทักษะในการทำงานตรงตามความต้องการของนายจ้าง ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 82/2564
2554806การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Field of Experience in Public Administration)5(0-30-0)ฝึกงานทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในองค์การภาครัฐรัฐวิสาหกิจและเอกชน โดยเน้นการรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์การบริหารในองค์การ ตลอดจนการวางแผนในการแก้ไขปัญหา การบริหารในองค์การ และการร่วมกิจกรรมทางการบริหารในองค์การ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่งานที่นักศึกษาสนใจและพัฒนาทักษะในการทำงาน ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 8ในองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาและทักษะในการทำงานตรงตามความต้องการของนายจ้าง ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 82/2564
2561107ภาษาอังกฤษทางกฎหมายและการเมือง (English for Laws and Politics)3(3-0-6)ศึกษาคำศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษทางกฎหมายและการเมือง รวมทั้งบทความที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายมหาชนและการเมืองการปกครอง ทั้งนี้ถือว่าเป็นการสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานต่อไป ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 8ให้นักศึกษาฝึกเขียนและอ่านเกี่ยวกับคำศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษทางกฎหมายและการเมือง รวมทั้งบทความที่เกี่ยวข้องซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 82/2564
2551601ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษทางรัฐศาสตร์ (English Reading and Writing Skills for Political Science)3(3-0-6)ศึกษางานนิพนธ์ทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์ โดยมุ่งพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การอ่านเชิงวิเคราะห์ การอ่านในเชิงการตีความ และทักษะด้านการเขียน การเขียนบรรยายความอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทั้งนี้ถือว่าเป็นการสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานต่อไป ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 8ให้นักศึกษาฝึกการอ่าน การอ่านเชิงวิเคราะห์ การอ่านในเชิงการตีความ และทักษะด้านการเขียน การเขียนบรรยายความ ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 82/2564
 25543244สิ่งแวดล้อมกับการเมืองโลก3(3-0-6)เนื้อหาสอดคล้อง กับ SDGs 7,13,14,15โครงการ “ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ”2/2564
2552601ภาษาอังกฤษทางรัฐประศาสนศาสตร์ (English for Public Administration)3(3-0-6)ศึกษาคำศัพท์เฉพาะทางรัฐประศาสนศาสตร์ การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ และการเขียนภาษาอังกฤษในงานด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งนี้ถือว่าเป็นการสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานต่อไป ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 8ให้นักศึกษาการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ และการเขียนภาษาอังกฤษในงานด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 82/2564
2563605การว่าความและศาลจำลอง (Advocacy and Moot Court)2(1-2-3)ศึกษาหลักวิชาว่าความเกี่ยวกับการเตรียมคดี การเรียบเรียงคำคู่ความ หลักสำคัญของกฎหมายทนายความและข้อบังคับเกี่ยวกับทนายความ หลักวิชาและศิลปะในการร่างนิติกรรมสัญญาต่างๆ เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่งานที่นักศึกษาสนใจและพัฒนาทักษะในการทำงาน ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 8ให้นักศึกษาการเรียบเรียงคำคู่ความ เช่น คำฟ้อง คำร้อง คำขอ คำแถลงต่างๆ ซึ่งสอดคล้อง กับ SDG 4 และ SDG 81/2565
2561502กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด (Criminal Law 2: Offences)3(3-0-6)ศึกษาเกี่ยวกับความผิดทางเพศ ว่าการทำอนาจาร ข่มขื่นกระทำชำเรา การล่วงละเมิดทางเพศเป็นความผิดทางกฎหมาย สอดคล้องกับการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศและความเสมอภาคระหว่างเพศ สอดคล้องกับ SDG 5  ให้นักศึกษาศึกษาคดีที่ละเมิดทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคม เพื่อให้เกิดความตระหนักและเคารพในความเท่าเทียมทางเพศ สอดคล้องกับ SDG 5 1/2565

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGs
4504805การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคหกรรมศาสตร์6 (120)SDGs 17: หุ้นส่วนความร่วมมือสู่ทุกเป้าหมาย (Partnership for the Goals)  บูรณาการศาสตร์ของคหกรรมในด้านอาหารและโภชนาการ ผ้าและการแต่งกาย ศิลปะประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์  พัฒนาการมนุษย์และครอบครัว  และด้านครอบครัวที่อยู่อาศัย เพื่อฝึกประสบการณ์จริงก่อนสำเร็จการศึกษาฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต หรือสถานประกอบการอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงรัฐวิสาหกิจ
4511109การจัดการโภชนาการสำหรับครอบครัวและเด็ก3 (1-4-4)SDGs 2: การขจัดความหิวโหย (Zero Hunger)การบริโภคอาหารที่เหมาะสม และสมดุลโดยเริ่มตั้งแต่วัยหญิงตั้งครรภ์ รวมไปถึงสามารถประกอบอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการ เพื่อป้องกัน และหลีกเลี่ยงการเกิดทุพโภชนาการในครอบครัว1. คำนวณอาหารสมดุล โดยใช้รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2. ฝึกปฏิบัติการอาหารเพื่อทำอาหารให้เหมาะสมกับแต่ละวัย  
4511207การคัดเลือกวัตถุดิบอาหารและการเตรียม3 (1-4-4)SDGs 12: การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ (Responsible Consumption and Production)การตัด หั่น แต่งวัตถุดิบโดยให้เกิดการเหลือทิ้ง (Food Waste) น้อยที่สุด นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า รวมไปถึงการเก็บรักษาให้อยู่ได้นานและยังคงคุณค่าของวัตถุดิบให้ได้มากที่สุด1. ฝึกปฏิบัติจริงในการคัดเลือกวัตถุดิบ และการเก็บรักษา 2. ฝึกปฏิบัติการชั่งตวงวัตถุดิบ 3. ฝึกปฏิบัติการอาหารโดยใช้หลักการหั่นตัดแต่งที่ถูกต้อง  
4511209สุขาภิบาลและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการอาหาร3 (2-2-5)SDGs 12: การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ (Responsible Consumption and Production)การจัดการสุขาภิบาลในสถานประกอบการอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร การจัดการน้ำ บำบัดไขมัน การเสื่อมเสียของอาหาร อาหารเป็นพิษ และ HACCP1. ทำการทดลองในการเก็บรักษาวัตถุดิบแต่ละชนิดในรูปแบบที่แตกต่างกัน และนำมาเล่า และอภิปรายในห้องเรียนว่าการเก็บรักษาแต่ละแบบทำให้เกิดผลอย่างไร 2. สำรวจพื้นที่การให้บริการอาหารว่าถูกต้องตามหลักการสุขาภิบาลหรือไม่  
5073316เบเกอรี่และเพสตรี้3 (2-2-5)SDGs 2: ขจัดความหิวโหยศึกษาคำจำกัดความของ
เบเกอรี่ และเพสตรี้ ประเภท วัตถุดิบ เครื่องมือ และ อุปกรณ์ กรรมวิธีการผลิตทั้ง เค้ก คุกกี้ พาย และขนมปังชนิดต่าง ๆ การตกแต่ง บรรจุภัณฑ์ รูปแบบการจัดเสิร์ฟ การจัดทำตำรับมาตรฐาน การพัฒนาตำรับเบเกอรี่ และเพสตรี้ ฝึกปฏิบัติได้แก่ คุกกี้เนย เค้กเนย ชิฟฟ่อนเค้ก พายกรอบ พายผลไม้ ทาร์ต ชูวส์เพสตรี้ ขนมปังเนยสด ขนมปังไส้ต่างๆ โดนัท โรลเค้ก  และการแต่งหน้าเค้กเบื้องต้น
1.การลงมือปฎิบัติการทำอาหาร 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการประกอบอาหาร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
4511108โภชนาการในวัยต่างๆ3 (2-2-5)SDGs 2: การขจัดความหิวโหย (Zero Hunger)โภชนาการแต่ละช่วงวัย และการปฏิบัติการอาหารให้กับวัยต่างๆ ที่เหมาะสมรวมทั้งสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อให้ตนเองและผู้อื่นมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ด1. คำนวณอาหารสมดุล โดยใช้รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2. ฝึกปฏิบัติการอาหารเพื่อทำอาหารให้เหมาะสมกับแต่ละวัย  
4511208อาหารสวนดุสิต (อาหารไทยและขนมไทย)3 (1-4-4)SDGs 12: การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ (Responsible Consumption and Production)เอกลักษณ์อาหารสวนดุสิต เครื่องปรุง เครื่องแนม เครื่องจิ้ม เครื่องเคียง เทคนิคการประกอบอาหาร การจัดสำรับอาหาร อุปกรณ์เครื่องมือและการจัดบริการอาหาร การจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร การเลือกใช้ผ้าในการจัดบริการอาหาร การจัดดอกไม้บนโต๊ะอาหาร มาตรฐานการบริการและบุคลิกภาพที่เหมาะสมในการให้บริการอาหาร1.การลงมือปฎิบัติการทำอาหาร 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการประกอบอาหาร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
4513246เครื่องดื่ม3 (2-2-5)SDGs 12: การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ (Responsible Consumption and Production)ศึกษาความหมายและความสำคัญของเครื่องดื่ม ประเภท วัตถุดิบต่างๆ วิธีการผสม อุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้ในการผลิตเครื่องดื่ม  การจัดตกแต่งและการจัดเสิร์ฟเครื่องดื่มกับอาหารในวาระต่างๆ1.การลงมือปฎิบัติการทำเครื่องดื่ม 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการผสมเครื่องดื่ม รวมทั้งการจัดเสิร์ฟเครื่องดื่มกับอาหารในวาระต่างๆ
4533402การจัดการงานแม่บ้าน3 (1-4-4)SDGs 3: สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Good Health and Well-being)  หน้าที่รับผิดชอบ มรรยาท และจรรยาบรรณของแม่บ้าน การเลือกเครื่องมือเครื่องใช้ เทคนิคการทำความสะอาด การดูแลรักษา ตรวจสอบความเรียบร้อยตามสุขลักษณะ เพื่อให้สุขภาพที่ดี1. ดูงาน และฝึกปฏิบัติงานในโรงแรมสวนดุสิตเพลส เพื่อให้ได้เรียนรู้การทำงานจริง การวางแผนการจัดการ การดูแลผู้อื่น การจัดการงานแม่บ้านที่ถูกต้อง  
4512229การถนอมอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์3 (1-4-4)SDGs 2: ขจัดความหิวโหยหลักการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร การจัดการหลังการเก็บเกี่ยววัตถุดิบอาหาร กระบวนการ เทคโนโลยีการถนอมและแปรรูปอาหาร ได้แก่ การใช้ความร้อน การแช่เย็น การแช่แข็ง การทำแห้ง การทำให้เข้มข้น การหมัก การใช้วัตถุเจือปนอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร1.การลงมือปฎิบัติการทำอาหาร 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการประกอบอาหาร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
4513251ขนมอบและเพสตรี้3 (1-4-4)SDGs 2: ขจัดความหิวโหยคำจำกัดความของขนมอบ และเพสตรี้ ประเภทวัตถุดิบ เครื่องมือและอุปกรณ์ กรรมวิธี การผลิตคุกกี้ เค้ก พาย ทาร์ต ชูวส์เพสตรี้ โดนัท และขนมปัง การตกแต่ง การแต่งหน้าเค้กเบื้องต้น รูปแบบ เทคนิคการจัดเสิร์ฟ การจัดทำตำรับมาตรฐาน1.การลงมือปฎิบัติการทำอาหาร 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการประกอบอาหาร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
4514220อาหารเพื่อสุขภาพ3 (2-2-5)SDGs 2: การขจัดความหิวโหย (Zero Hunger)ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยในปัจจุบัน การบริโภคอาหารและการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพ สมุนไพรในอาหาร นำความรู้ทางด้านอาหารเพื่อสุขภาพมาเลือกประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและคนรอบข้างเพื่อการบริโภคอาหารในปัจจุบันให้เกิดประโยชน์สูงสุด1. ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยใช้กรณีศึกษานำมาพูดคุยแลกเปลี่ยนในห้องเรียน 2. ฝึกปฏิบัติการอาหารเพื่อสุขภาพ  
4513105อาหารทางเลือกและอาหารสมดุล3 (1-4-4)SDGs 2: การขจัดความหิวโหย (Zero Hunger)ปฏิบัติการอาหารและเรื่องของการดูแลสุขภาพในรูปแบบของ Intermittent Fasting (IF) Ketogenic Diet และ Low Carb การรับประทานอาหารมังสวิรัติ อาหารเจ เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี1. ศึกษาการบริโภคอาหารทางเลือกแบบต่างๆ ทั้งข้อดี ข้อเสีย ความเหมาะสมในการเลือกรับประทานอาหารทางเลือกและอาหารสมดุล โดยใช้กรณีศึกษานำมาอภิปรายในห้องเรียน 2. ฝึกปฏิบัติการอาหารทางเลือกและอาหารสมดุล  
4513250อาหารยุโรป3 (1-4-4)SDGs 2: ขจัดความหิวโหยศึกษาความหมายและความสำคัญของอาหารยุโรป หลักการพื้นฐานทั้งด้านวิทยาศาสตร์ และศิลปะการประกอบอาหารยุโรป ศึกษาคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหาร คุณสมบัติ วัตถุดิบในการประกอบอาหารยุโรป การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในครัวยุโรป พื้นฐานในการประกอบอาหาร เครื่องปรุงรส กลิ่นรส เครื่องเทศ น้ำสต๊อก แม่ซอส 5 ประเภท ซอสเย็น และซุป เทคนิคการเตรียม การประกอบ การจัดทำอาหารมื้อเช้า กลางวัน และอาหารค่ำแบบยุโรป1.การลงมือปฎิบัติการทำอาหาร 2. การนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุดิบและการประกอบอาหาร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
4513307การให้บริการอาหารปริมาณมาก3 (1-4-4)SDGs 12: การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ (Responsible Consumption and Production)การเตรียมให้บริการอาหารปริมาณมาก การวางแผนรายการอาหาร การเตรียมวัตถุดิบ การลดการสูญเสียในขั้นตอนการเตรียมอาหาร1. จัดทำแผนการบริการอาหาร การจัดการวัตถุดิบ ค่า cost ในการให้บริการอาหารปริมาณมาก 2. ฝึกปฏิบัติการอาหาร 3. ฝึกปฏิบัติจริง โดยการจัดโครงการให้นักศึกษาได้บริหารจัดการจัดทำอาหารปริมาณมาก และการบริการ  

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65)

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว
3573125จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Professional Ethics and Laws in Tourism Industry)3(3-0-6)สัปดาห์ที่ 12 พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 1-2อธิบายตัวบทกฎหมายในมาตราต่างๆที่สำคัญ ถ้อยคำศัพท์สำนวนทางกฎหมาย หลักทั่วไปและข้อยกเว้นในทางกฎหมาย ตัวอย่างประกอบจากคำพิพากษาของศาล2/2564  
3573267การวางแผนและการจัดนำเที่ยว (Tour Planning and Organizing)3(2-2-5)ลักษณะของการจัด นำเที่ยว แบบอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การลดการใช้กล่องพลาสติก การใช้ถุงผ้า เป็นต้นยกตัวอย่างการจัดกิจกรรมนำเที่ยวโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3573112การจัดการภาวะวิกฤตสำหรับการท่องเที่ยว (Crisis Management for Tourism)3(3-0-6)วิกฤตสิ่งแวดล้อมที่กระทบต่อนักท่องเที่ยวกรณีศึกษาจากหนังสือ Crisis and Disaster Management for Tourism หัวข้อ Nature and Impacts of Tourism Crises เพื่อให้ นักศึกษาเข้าใจถึงการจัดการภาวะวิกฤตทาง ธรรมชาติ2/2564  
3573533ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว (Chinese for Tourism)3(3-0-6)การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับการท่องเที่ยวสร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ2/2564  
3572217ศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว (Thai Art and Culture for  tourism)3(2-2-5)การสร้างจิตสำนึกทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมเพื่อการอนุรักษ์ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทยบรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาหวงแหนมรดกทางวัฒนธรรม2/2564  
3572221การตลาดและการขายสำหรับธุรกิจนำเที่ยว (Marketing and Sales for Tour Operator)3(3-0-6)การร่วมอนุรักษ์เพื่อความคงอยู่อย่างยั่งยืนแบ่งกลุ่มการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทความร่วมมือของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยในการร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรม 2/2564  
3572508ภาษาฝรั่งเศสเชิงสถานการณ์ (French in Various Situations)3(3-0-6)คำศัพท์เกี่ยวกับอุปกรณ์สำนักงานเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมฝึกออกเสียง และท่องจำคำศัพท์ เกี่ยวกับอุปกรณ์สำนักงานเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3571206เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
สำหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Information and Technology Communication Technology for Tourism Industry)
3(2-2-5)เทคโนโลยีสารสนเทศกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแนะนำเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3573281มรดกไทยเพื่อการท่องเที่ยว (Thai Heritage for Tourism)2(2-0-4)การอนุรักษ์สมุนไพรและสิ่งแวดล้อมแนะนำสมุนไพรและวิธีอนุรักษ์พืช รวมถึงสิ่งแวดล้อม2/2564  
3571503ภาษาฝรั่งเศสระดับต้น (Basic French)3(3-0-6)ท่องจำคำศัพท์เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในครัวเรือนเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในครัวเรือน2/2564  
3574807ทักษะอาชีพในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Internship in Tourism Industry)6(400)นักศึกษาฝึกประสบการณ์ในอุตสาหกรรมบูรณาการความรู้และทักษะจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อการปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานต่อไปในอุตสาหกรรม2/2564  
3572214การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของประเทศไทย (Development of Tourism Resources in Thailand)3(3-0-6)ความหมาย และความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว และ ศักยภาพชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวอภิปรายความสำคัญ และเหตุผลการอนุรักษ์ทรพัยากรทางการท่องเที่ยว
และผลของการพัฒนาศักยภาพในชุมชนเพื่อการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
1/2565
หลักสูตร Non-degree “การออกแบบ ธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว ( Wellness business designed for tourism)”การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร– พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว – อบรมการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มจากธรรมชาติ และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสุขภาวะที่ดี1/2565
3572541ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ 1 (English for Tourist Guide 1)3(3-0-6)โบราณสถานในประเทศไทยนำชมสถานที่จริงเพื่อการฝึกพัฒนาทักษะการบรรยาย1/2565
2. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรม
3573313การเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจที่พัก (Entrepreneurship in Accommodation Business)3(3-0-6)ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ประกอบการในธุรกิจที่พักอธิบายปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ประกอบการในธุรกิจที่พัก2/2564  
3574306ธุรกิจอาหารและงานครัวในธุรกิจโรงแรม (Food Business and Kitchen in Hotel Business)3(2-2-5)การจัดการภัตตาคาร การดำเนินงานการจัดการการบริการอาหารการเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ครัวและพื้นที่บริการเพื่อสิ่งแวดล้อมแนะนำการจัดการพื้นที่เพื่อสิ่งแวดล้อม2/2564  
3573308การบริหารบัญชีและการเงินสำหรับธุรกิจโรงแรม (Accounting and Finance for Hotel Business)3(2-2-5)ความเกี่ยวข้องของงานบัญชีกับสิ่งแวดล้อมอธิบายความสัมพันธ์ของการจัดทำบัญชีในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3572312สุนทรียภาพในพื้นที่บริการในธุรกิจโรงแรม (Aesthetics in Service Spaces in Hotel Business)3(2-2-5)หลักการประยุกต์ใช้ศิลปะการตกแต่งร่วมสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในโรงแรมเรียนรู้ตัวอย่างการตกแต่งธุรกิจโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม2/2564  
3574309การจัดการธุรกิจไมซ์และอีเว้นท์ในธุรกิจโรงแรม (MICE Management and Event in Hotel Business)3(2-2-5)การจัดการอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืนอภิปรายแนวทางที่ทำให้อุตสาหกรรมไมซ์ยั่งยืน2/2564  
3572308การดำเนินงานและการจัดการด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Bar and Beverage Operation and Management)3(2-2-5)การบริการอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนำเสนอแนวคิดและการปรับตัวของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม2/2564  
3572309การดำเนินงานและการจัดการงานจัดเลี้ยง (Hotel Catering Operation and Management)3(2-2-5)ความรู้เกี่ยวกับการจัดเลี้ยง (Green Catering)ยกตัวอย่างการจัดเลี้ยงที่นำแนวคิดการรักษาสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่างๆ2/2564  
3572310การควบคุมต้นทุนด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Cost Control in Food and Beverage)3(2-2-5)สถานประกอบการไม่ใช้วัสดุสิ้นเปลืองในการทํางาน      ยกตัวอย่างและผลดีของการเปลี่ยนวัสดุสิ้นเปลืองในกิจกรรมการทำงาน2/2564  
3572306การดำเนินงานและการจัดการงานบริการส่วนหน้า (Front Office Operation and Management)3(2-2-5)การดูแลอุปกรณ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ยืดอายุการใช้งาน และประหยัดพลังงานศึกษาวิธีการใช้งานอุปกรณ์รวมถึงวิธีเก็บรักษาเพื่อยืดอายุการใช้งาน2/2564  
3572312สุนทรียภาพในพื้นที่บริการในธุรกิจโรงแรม (Aesthetics in Service Spaces in Hotel Business)3(2-2-5)ศิลปะการตกแต่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมยกตัวอย่างการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการตกแต่ง2/2564  
3573314บริบทการท่องเที่ยวเพื่อธุรกิจโรงแรม (Tourism Context for Hotel Business)3(3-0-6)ผลกระทบของอุตสาหกรรทท่องเที่ยวต่อสภาวะแวดล้อม ปัญหาเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวยกตัวอย่างผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และแนวคิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3571517ภาษาฝรั่งเศสพื้นฐาน (Basic French)3(3-0-6)คำศัพท์เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในครัวเรือนท่องจำคำศัพท์เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในครัวเรือน2/2564  
3574802ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในธุรกิจการโรงแรม (Field Experience in Hotel Business)6(400)นักศึกษาฝึกประสบการณ์ในอุตสาหกรรมบูรณาการความรู้และทักษะจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อการปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานต่อไปในอุตสาหกรรม2/2564  
3571334ธุรกิจโรงแรมสมัยใหม่ (Modern Hotel Business)3(3-0-6)มาตรฐานสิ่งแวดล้อมในธุรกิจโรงแรมบรรยายความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและการออกมาตรการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในธุรกิจโรงแรม1/2565
3571335มิติสุขภาวะและวัฒนธรรมสุขสมบูรณ์ (Wellness Dimension and Culture)3(3-0-6)ดุลยภาพขององค์ประกอบสุขภาวะบรรยายเพื่อสร้างความเข้าใจถในสุขภาวะที่ดีเพื่อการพัฒนาประเทศ1/2565
3572306การดำเนินงานและการจัดการงานบริการส่วนหน้า (Front Office Operation and Management)3(2-2-5)การให้บริการขณะเข้าพักและการดำเนินการด้านอื่นๆแนะนำเกี่ยวกับการทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมายเพื่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ1/2565
3572308การดำเนินงานและการจัดการด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Bar and Beverage Operation and Management)3(2-2-5)สุขอนามัยและการรักษาความปลอดภัยบรรยายและยกตัวอย่างการดำเนินงานเพื่อป้องกันอันตราย อุบัติเหตุในขณะปฎิบัติงาน1/2565
3572308การดำเนินงานและการจัดการด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Bar and Beverage Operation and Management)3(2-2-5)การบริการอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมยกตัวอย่างการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม รวมถึงการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม1/2565
3572309การดำเนินงานและการจัดการงานจัดเลี้ยง (Hotel Catering Operation and Management)3(2-2-5)ความรู้เกี่ยวกับการจัดเลี้ยง (Green Meeting)ยกตัวอย่างการออกแบบสถานที่ การบริการอาหาร เครื่องดื่มรวมถึงการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม1/2565
3572310การควบคุมต้นทุนด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Cost Control in Food and Beverage)3(2-2-5)สถานประกอบการไม่ใช้วัสดุสิ้นเปลืองในการทำงานยกตัวอย่างและผลดีของการเปลี่ยนวัสดุสิ้นเปลืองในกิจกรรมการทำงาน1/2565
3572312สุนทรียภาพในพื้นที่บริการในธุรกิจโรงแรม (Aesthetics in Service Spaces in Hotel Business)3(2-2-5)หลักการประยุกต์ใช้ศิลปะการตกแต่งร่วมสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมใน โรงแรมอภิปราย และยกตัวอย่างการตกแต่งโรงแรมร่วมสมัยที่ประยุกต์ใช้แนวคิดการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม1/2565
3572313วัฒนธรรมการบริโภคอาหารโลก (Word gastronomy Culture)3(3-0-6)อาหารแห่งสหัสวรรษอภิปราย และวิเคราะห์แนวโน้มอาหารสำหรับโลก1/2565
3572326บริบทอุตสาหกรรมท่องเที่ยวสำหรับธุรกิจโรงแรม (Tourism Industry Context for Hotel Business)3(3-0-6)การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวอภิปราย และยกตัยวอย่างการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว1/2565
3573307การบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์ในธุรกิจโรงแรม (Human Resource Management in Hotel Business)3(3-0-6)การสรรหา ทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจโรงแรมบรรยาย และอภิปรายเกี่ยวกับองค์กรที่มีลักษณะการจ้างงานที่มีคุณค่า1/2565
3573318เทคโนโลยีสารสนเทศยุคดิจิทัลในธุรกิจโรงแรม (Digital Technology in Hotel Business)3(2-2-5)การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยุคดิจิทัลในการดำเนินงานห้องพักยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อประหยัดทรัพยากรในธุรกิจโรงแรม1/2565
3573409ธุรกิจการบินและการสำรองที่นั่ง (Airline Business and Reservation)3(2-2-5)การผลิตบริการธุรกิจการบินวิเคราะห์ และยกตัวอย่างการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม1/2565
3574307พื้นฐานวิจัยและการสัมมนาในธุรกิจโรงแรม (Introduction to Research and Seminar in Hotel Business)3(2-2-5)ทิศทางและแนวโน้มการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและโรงแรมออกแบบงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจโรงแรมเพื่อการดำเนินงานที่ประสิทธิภาพ และยั่งยืน1/2565
3574308การจัดการธุรกิจสุขภาพในธุรกิจโรงแรม (Health Service Management in Hotel Business)3(3-0-6)ธุรกิจประเภทการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพค้นคว้าและอภิปรายเกี่ยวกับสุขภาวะที่ดี และปัจจัยรองรับสุขภาวะที่ดีในธุรกิจโรงแรม1/2565
3574802ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในธุรกิจการโรงแรม (Field Experience in Hotel Business)6(400)นักศึกษาฝึกประสบการณ์ในอุตสาหกรรมบูรณาการความรู้และทักษะจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อการปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานต่อไปในอุตสาหกรรม1/2565
3. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการบิน
3573549ภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการบนเครื่องบิน ( English for In-flight Service)3(3-0-6)Waste separationศึกษาคำศัพท์เกี่ยวกับการแยกขยะในอุตสาหกรรม2/2564  
3572103การเป็นผู้ประกอบการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว (Entrepreneurship in Travel Agency)3(3-0-6)การจัดรายการนำเที่ยวที่ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ให้นักศึกษาทดลองออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยว2/2564  
3572103การเป็นผู้ประกอบการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว (Entrepreneurship in Travel Agency)3(3-0-6)การจัดรายการนำเที่ยวที่ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืนให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดเส้นทางการท่องเที่ยวที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม2/2564  
3572414วัฒนธรรมการบริการในธุรกิจการบิน (Service Culture in Airline Business)3(3-0-6)แนวโน้มภาวะวิกฤตในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อธุรกิจการบิน ธุรกิจการบินกับสิ่งแวดล้อมถามตอบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของธุรกิจการบิน และอภิปรายเรื่องการแก้ไข รักษาโลก และค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มภาวะวิกฤตในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อธุรกิจการบินไทยและทั่วโลกกับการปรับตัว2/2564  
3574804ฝึกประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการบิน (Field Experience in Airline)6(400)นักศึกษาฝึกประสบการณ์ในอุตสาหกรรมบูรณาการความรู้และทักษะจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อการปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานต่อไปในอุตสาหกรรม2/2564  
4. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานบริการ (หลักสูตรนานาชาติ)
3573905ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติสำหรับอุตสาหกรรมบริการ (Research Methodology and Statistics for Hospitality Industry)3 (2-2-5)Assortment of Problem
– Environmental and social issues 
หาข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการบริการ2/2564  
3573129การวางแผนและการจัดการการแสดง (Event Planning and Management)3 (3-0-6)Site safety – Environment awareness and safetyหาข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างความตระหนักในด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน2/2564  
3571403ความรู้เบื้องต้นในการจัดการธุรกิจการบิน (Introduction to Airline Business Management)3 (3-0-6)Aircraft Types – environment issues and  aircraft typesยกตัวอย่างแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อมตามประเภทของเครื่องบิน2/2564  
3573528ภาษาจีนเพื่ออุตสาหกรรมบริการ (Chinese for Hospitality Industry)3 (3-0-6)Environmental Issues raised and class discussion “How the hospitality Industry apply remedial measures to save the environment “ศึกษาคำศัพท์และประโยคที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและแนวทางการป้องกัน แก้ไขในอุตสาหกรรมบริการ2/2564  
3573529ภาษาฝรั่งเศสเพื่ออุตสาหกรรมบริการ (French for Hospitality Industry)3 (3-0-6)Le tourisme durable : le tourisme pour protégerศึกษาคำศัพท์ที่เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อมสำหรับการท่องเที่ยว2/2564  
2500116สังคมอารยชน (Civilized People Societies)4(2-4-6)Civilization in Thai societyอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นการรักษาสิ่งแวดล้อมของอารยชนของประเทศไทย2/2564  
4000112วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Science and Mathematics in Daily Life)4(2-4-6)Environmental managementศึกษาข้อมูลและอภิปรายการจัดการสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน2/2564  
3572118ภาวะผู้นำในยุคโลกาภิวัตน์ (Leadership in Globalization)3 (3-0-6)BCG Model and Tourism  อธิปรายเกี่ยวกับ BCG Model ที่นำมาปรับใช้ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว2/2564  
3572227การจัดการและการสร้างประสบการณ์แหล่งท่องเที่ยว (Destination and Experience Management)3 (3-0-6)Sustainable development  และ Destination planning and BCG Model  ประยุกต์แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อนำไปปรับใช้กับการวางแผนจุดหมายการท่องเที่ยวโดยใช้ BCG Model2/2564  
3572119การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมบริการ (Human Resource Management in Hospitality Industry)3(3-0-6)World Green Organizationอธิปราย และแสดงตัวอย่างการแนวคิดและการปรับใช้เพื่อพัฒนาองค์กรให้เป็น Green Organization2/2564  
3571126การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อการจัดการอุตสาหกรรมบริการ (Personality Development for Hospitality Management)3(3-0-6)Speech show เรื่อง “Nature is Treasure”ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญของธรรมชาติและนำมาพูดในที่สาธารณะ2/2564  
3571503ภาษาฝรั่งเศสระดับต้น (Basic French)3(3-0-6)Les 8 gestes efficaces et faciles pour l’environnement chezศึกษาคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม2/2564  
3574805Cooperative Education (Work Placement)6(450)นักศึกษาฝึกประสบการณ์ในอุตสาหกรรมบูรณาการความรู้และทักษะจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อการปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานต่อไปในอุตสาหกรรม2/2564  
3572117การจัดการการบัญชีและการเงินใน อุตสาหกรรมบริการ (Accounting and Finance Management in Hospitality Industry)3(2-2-5)Decent Work and Economic Growthอภิปราย และวิเคราะห์ความสำคัญของการทำงานที่มั่นคงและเป็นธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ1/2565
2500119วิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Lifestyle for Circular Economy)3(2-2-5)Understanding “SDG”วิเคราะห์ SDGs เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และเชื่อโยงความเกี่ยวข้องกับรายวิชา1/2565
3574107การเป็นผู้ประกอบการในสังคมเศรษฐกิจยุคใหม่ (Entrepreneurship in New World Economy)3(3-0-6)Ethics of entrepreneurs and corporate social and environmental responsibilitiesอภิปรายและยกตัวอย่างการประกอบธุรกิจเพื่อความยั่งยืน1/2565
2500118อาหารการกิน (Food for Life)3(3-0-6)ความมั่นคงทางอาหารและการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียววิเคราะห์ทรัพยากรด้านอาหารและต้นทุนที่เกี่ยวข้องในการผลิต และบริโภคอาหาร และเชื่อมโยงการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว1/2565
5. หลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิทรรศการและการจัดแสดง
2074904โครงการพิเศษการออกแบบนิทรรศการ
และการจัดแสดง
3(2-2-5)นิทรรศการและการจัดแสดงอย่างยั่งยืนประยุกต์แนวคิดการจัดการอย่างยั่งยืนในการจัดนิทรรศการและการจัดแสดง2/2564  
2073511บริหารงานขายธุรกิจออกแบบนิทรรศการเเละการจัดเเสดง3(2-2-5)การออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมศึกษาและอภิปรายการนำแนวคิดรักษาสิ่งแวดล้อมมาใช้กับการออกแบบนิทรรศการและการจัดแสดง2/2564  
2073507การบริหารความเสี่ยงในงานออกแบบนิทรรศการและการจัดแสดง3(3-0-6)โครงการ บูรณาการ กิจกรรมEVEX บูรณาการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประยุกต์ใช้แนวคิดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืนสำหรับการดำเนินงานในโครงการบูรณาการรายวิชา2/2564  
6. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการการท่องเที่ยว
3571208ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Introduction to Tourism Industry)3(3-0-6)การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติบรรยายแนวคิดและยกตัวอย่างการดำเนินการเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว1/2565
3571209จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว3(3-0-6)ความรู้ด้านการอนุรักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ ด้านทะเล ทรัพยากรทางน้ำ ชายฝั่งบรรยายแนวคิดและยกตัวอย่างการดำเนินการเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านทะเล ทรัพยากรทางน้ำ ชายฝั่ง ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว1/2565
3571213การประชุม การเดินทางเพื่อเป็นรางวัล การจัด นิทรรศการ และการท่องเที่ยวกิจกรรมพิเศษ3(3-0-6)การยกระดับการบริการระดับสูงสำหรับธุรกิจไมซ์ในประเทศไทยบรรยาย และยกตัวอย่างการความเกี่ยวข้องของธุรกิจไมซ์ รวมถึงคุณสมบัติของผู้ปฏับัตงานในธุรกิจไมซ์ที่ส่งเสริมการพัฒนาประเทศ1/2565
7. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้ประกอบการธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว
3571129การตลาดสำหรับผู้ประกอบธุรกิจบริการและการท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล (Marketing for Hospitality and Tourism Entrepreneurs in the Digital Era)3(3-0-6)ข้อควรระวังในการทำการตลาดยกตัวอย่างการตลาดที่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากความเหลื่อมล้ำ หรือการกีดกัน ทางเพศ อายุ ฯลฯ1/2565
3571128การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสำหรับธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว (Utilization of Technology for Hospitality and Tourism Business)3(3-0-6)การใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองความต้องการเข้าถึงสินค้าและบริการในธุรกิจบริการและการท่องเที่ยวอภิปราย และยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจเพื่อเปิดโอกาสในการเข้าถึงสินค้าและบริการจากทั่วโลก1/2565

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65) หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1035104การรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา (Digital Literacy for Graduate Students)3(2-2-8) (ไม่นับหน่วยกิต)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ 1.ศึกษาเกี่ยวกับโลกดิจิทัลในปัจจุบัน แนวคิด ทฤษฎี 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการวิจัย 3. เทคโนโลยีดิจิทัลกับการบริหารจัดการองค์กร   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ 1. การสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานด้วยสื่อดิจิทัล 2. การประยุกต์ใช้เทคนิคและทักษะในการบริหารร่วมกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ถูกต้องเหมาะสม 3. การใช้งานดิจิทัลอย่างมั่นคงปลอดภัยและ กฎหมายดิจิทัล   1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากอาจารย์ผู้สอน และเรียนรู้จากวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัลถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ และการคิด ให้ความเห็น และการรับฟังความเห็นแบบสะท้อนกลับ      2. จัดกิจกรรมโดยการเชิญวิทยากรภายนอกมหาวิทยาลัยและภายนอกคณะครุศาสตร์ บรรยายพิเศษ หัวข้อต่าง ๆ ให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามสายงานตามความต้องการ ดังนี้  -“มุมมองใหม่ เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการบริหารองค์กรการศึกษา”โดย ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข   -“การสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานด้วยสื่อดิจิทัลโดย ดร.วรสรวง ดวงจินดา  -“กฎหมายคอมพิวเตอร์ เน้น PDPA ที่ครูจำเป็นต้องรู้”โดย อาจารย์ชมพูนุท วิริยะสุนทร อาจารย์ประจำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง    3. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการเรียนรู้แบบสืบสวน เกี่ยวกับประเด็นการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลและสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีและรูปแบบกระบวนการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา    4. การฝึกปฏิบัติการพัฒนาสื่อดิจิทัล3/2564 (รายวิชาปรับพื้นฐาน)
1075101ทักษะการสื่อสารสำหรับการจัดการ (Communication Skills for Management)3(3-0-9) (ไม่นับหน่วยกิต)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ   1. English languages communication skills for educational institution managers; listening, speaking, reading and writing skills practice; ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา การฝึกปฏิบัติด้าน การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน    2. Reading comprehension with academic contents; การอ่านเพื่อสร้างความเข้าใจเนื้อหาวิชาการของศาสตร์ ต่าง ๆ    3. Conversation ability for opinion exchanges; ความสามารถในการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. Technological application for data inquiry especially early childhood and primary education management data; การประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา    2. analytical thinking, critique and summary of informal and formal communication; การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และการสรุปความการสื่อสารอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ                                                             1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared Leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ และการคิด ให้ความเห็น และการรับฟังความเห็นแบบสะท้อนกลับ    2. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการเรียนรู้แบบสืบสวน ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning) เพื่อการฝึกปฏิบัติด้าน การฟัง การพูด การอ่าน การเขียนและประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีและรูปแบบการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา    3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ มีประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์ผู้สอนหลัก และนักศึกษา    การเชิญวิทยากร บรรยายพิเศษ หัวข้อต่าง ๆให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการ ดังนี้    – Reading comprehension with academic contents; การอ่านเพื่อสร้างความเข้าใจเนื้อหาวิชาการของศาสตร์ต่าง ๆ โดย ผศ.ดร.วนิดา อัญชลีวิทยกุล    – Conversation ability for opinion exchanges;ความสามารถในการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดย อ.ดร.พันธรักษ์ ผูกพันธุ์3/2564 (รายวิชาปรับพื้นฐาน)
1075201ศาสตร์และศิลป์ในการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา (Science and Arts of Early Childhood and Primary Education Management)3(3-0-9)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1.ศาสตร์และศิลป์สำหรับการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา นโยบาย ทิศทาง และกลยุทธ์การจัดการศึกษา 2. การจัดการสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์วิกฤตต่างๆ การเป็นผู้นำที่ดี และการสร้างแรงจูงใจ 3.การออกแบบกิจกรรมการพัฒนาเด็กที่หลากหลายเหมาะสมกับบริบทวัฒนธรรม มิติทางการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา 4.การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการสถานศึกษา   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การพัฒนาสมรรถนะของผู้นำที่ดี และใช้ทักษะการสร้างแรงจูงใจ ในการวางแผนการทำงานและการติดตามประเมินผลองค์กร การนิเทศการศึกษา การสร้างวัฒนธรรมองค์กร และ การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้    2.การกำหนดวิสัยทัศน์ การวางแผนการทำงานและการติดตามประเมินผลองค์กร          1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีรู้แบบที่หลากหลาย และคำนึงถึง ความสอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ โดยมีรูปแบบการสอน เช่น Case-based Learning, Problem-based Learning, School- based Learning    2. กิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบผสมผสานโดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล    3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์ผู้สอนหลัก และนักศึกษาเป็นสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – “บริหารอย่างไรให้อยู่รอดภายใต้สถานการณ์วิกฤต” โดยรศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน     – “การใช้ศาสตร์และศิลป์ของการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาภายใต้สถานการณ์วิกฤตต่างๆ” โดยดร.ศักดิ์สิน โรจน์สราญรมย์ และอ.เสน่ห์ ขาวโต    – “การนำองค์กรสู่ความสำเร็จระดับสากล” โดยคุณปารวีร์ เย็นพระพาย    – “การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดน” โดย พล.ต.ท.วิชิต ปักษาอดีตผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน    – “การพัฒนาสมรรถนะของผู้นำที่ดี และการสร้างวัฒนธรรมองค์กรอย่างสร้างสรรค์ การนิเทศ” โดย รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ    – การบริหารองค์กรภายใต้สถานการณ์วิกฤต โดย รศ.นพ.สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี1/65
1075102วิธีวิทยาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา (Educational Research Methodology and Statistics)3(2-2-8)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ 1.การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย 2. การทบทวนเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัย 3. “เทคนิคการเขียนโครงการวิจัย” การพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมกับข้อมูล    2. การกำหนดตัวอย่างวิจัย    3. การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยายและสถิติเชิงอนุมานโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป การแปลความหมายจากผลการวิเคราะห์   4. การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา และการเขียนรายงานการวิจัย การจัดทำบทความเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ จรรยาบรรณนักวิจัยและจริยธรรมในการวิจัย   1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบวิภาษวิธีเกี่ยวกับประเด็นวิกฤตทางวิชาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) ส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การฝึกปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษา เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนรู้    2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ และการคิด ให้ความเห็น และการรับฟังความเห็นแบบสะท้อนกลับ     3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – “สร้างเครื่องมือวิจัยอย่างไรให้มีคุณภาพ” โดย รศ.ดร.อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล    – “เทคนิคการเขียนโครงการวิจัย” โดย รศ.ดร.วิไลลักษณ์ ลังกา    – “การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมกับข้อมูล” โดยรศ.ดร.สังวรณ์ งัดกระโทก    – “กระบวนการกำหนดตัวอย่างวิจัย” โดย รศ.ดร.อัจศรา ประเสริฐสิน    – “เทคนิคการเขียนและการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย” โดย ดร.วีระพัฒน์ สุขศิริ1/65
1067122อัจฉริยะทางอารมณ์และภาษากาย (Emotional Intelligence and Body Language)3(2-2-5)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ 1. แนวคิดเกี่ยวกับอัจฉริยภาพทางอารมณ์และภาษากาย ได้ 2. ปฏิบัติตนตามแนวทางวัฏปฏิบัติที่ดีงาม จัดการกับอารมณ์อย่างชาญฉลาด เพื่อการปฏิบัติงานการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาได้    3. สามารถเป็นต้นแบบของบุคลิกภาพตาม SDU Spirit ได้     SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. สามารถวิเคราะห์คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพและความเป็นผู้นำในการเป็นแบบอย่างที่ดีได้    2. แสดงออกถึงการมีบุคลิกภาพความเป็นผู้นำทางด้านการจัดการอารมณ์และการสื่อสารทางภาษากายได้เหมาะสม   1. การจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) และหรือ Technology–based Learningที่ส่งเสริมทักษะการเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างที่ดี ทางการศึกษา สอดคล้องกับทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต    2. จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติ ด้านบุคลิกภาพและความเป็นผู้นำในการเป็นแบบอย่างที่ดีได้ และกรณีศึกษา จาก การศึกษาข้อมูลบุคคลต้นแบบของนักศึกษาแต่ละคน    3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – “วัฏปฏิบัติที่ดีงาม” โดย รศ.ดร.ชลวิทย์ เจียรจิตต์    – “กลวิธีชนะตัวเอง” โดย ดร.เบญจวรรณ สุจริต    – “Good Attitude & Good Looking” โดยผศ.ดร.วลัย วัฒนะศิริ    – “การจัดการอารมณ์เชิงลบ การพัฒนาอารมณ์เชิงบวก การฟื้นคืนอารมณ์อย่างชาญฉลาด” โดย ผศ.ดร.สุชาดา โทผล1/65
1076701การจัดการสถานศึกษาในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา (School Management of Early Childhood and Primary Education)3(2-2-8)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1.บทบาทผู้บริหารกับงานวิชาการ งานทรัพยากรมนุษย์ งานอาคารสถานที่ งานบริหารทั่วไป และ งานอื่นๆ    2. ความสัมพันธ์บ้าน สถานศึกษา และชุมชน บริหารงานทั่วไป บริหารกลยุทธ์และความเสี่ยง  3. การจัดโปรแกรมการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาสำหรับบริบทไทยและบริบทนานาชาติ      4.การบริหารกลยุทธ์การจัดการสถานศึกษา ความเสี่ยงและงานการเงิน    SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การประกันคุณภาพการศึกษา    2. การพัฒนางานกิจการนักเรียน การสร้างความสัมพันธ์กับสถานศึกษาอื่น และ ชุมชน    3. การเชื่อมโยง หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ       1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีรู้แบบที่หลากหลาย และคำนึงถึง ความสอดคล้องกับบริบทและสถานศึกษาในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา     2. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – “บทบาทผู้บริหารกับงานวิชาการ งานทรัพยากรมนุษย์ งานอาคารสถานที่ งานบริหารทั่วไป และ งานอื่นๆ” (โรงเรียนสังกัด สพฐ.) โดย นายกิตติศักดิ์ กาญจนครุฑ    – “การจัดโปรแกรมการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาสำหรับบริบทไทยและบริบทนานาชาติ” โดยคุณชยพล หลีระพันธ์ ผู้อำนวยการ Thai International School (TIS)    – การบริหารกลยุทธ์การจัดการสถานศึกษา ความเสี่ยงและงานการเงิน โดย ดร.ชเนตตี วัจนะรัตน์    – “การประกันคุณภาพสถานศึกษา” โดย ดร.ปนรรฐพร คำหาญสุนทร1/65
1075901การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา (Research and Development for Early Childhood and Primary Education Innovations) 3(2-2-8)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1.จรรยาบรรณนักวิจัย กระบวนการวิจัย    2. การกำหนดโจทย์การวิจัย    3. การวิจัยและนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา    4. การวิจัยแบบผสมผสาน    5. การออกแบบการวิจัย    6. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย/   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การนำเสนอผลการวิจัย นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาทางการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา     1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การฝึกปฏิบัติการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา    2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ และการคิด ให้ความเห็น และการรับฟังความเห็นแบบสะท้อนกลับ    3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – “การกำหนดโจทย์การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา” โดย อ.ดร.พรชุลี ลังกา    – “การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา”โดย รศ.ดร.มารุต พัฒผล    – “การวิจัยแบบผสมผสาน” โดย รศ.ดร.ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ    – “การออกแบบการวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา” โดย รศ.ดร.อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล    -“การประยุกต์งานวิจัยและนวัตกรรมไปสู่การใช้ประโยชน์” โดย รศ.ดร.ศศิลักษณ์ ขยันกิจ2/65
1075701กลยุทธ์และพลวัตใหม่ในการจัดการการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา (New Strategy and Dynamic in Educational Change Management)3(3-0-9)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1. บริบทประเทศด้านการศึกษา    2. บริบทสถานศึกษาในมิติต่างๆ อาทิ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม      3. “กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัย”    4. การบริหารความเสี่ยง   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การจัดทำกลยุทธ์ และการฝึกปฏิบัติ    2. การกำหนดวิสัยทัศน์การวางแผนกลยุทธ์    3. ขั้นตอน วิธีการการจัดทำ กลยุทธ์    4. SWOTS/TOWS analysis    5. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสู่การปฏิบัติเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา   1. การจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติการค้นคว้าหาข้อมูล และมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าแผนการศึกษาชาติในระดับปฐมวัย และประถมศึกษา เพื่อเป็นแนวคิดในการจัดทำแผนการพัฒนาของโรงเรียน    2. กิจกรรมวิเคราะห์ “การศึกษาในระดับประเทศ” และ “การศึกษาในระดับสถานศึกษา”    3. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    – ”กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัย” โดย รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ และ ดร.อุดม วงษ์สิงห์    – “การบริหารความเสี่ยง และ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสู่การปฏิบัติเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา” โดย ผศ.ดร.พรภัทร อินทรวรพัฒน์ 
1075401การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการ (Writing for Academic Communication) 3(2-2-5)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1. รูปแบบการเรียน แนวทางการฝึกฝนการเขียน    2. ระดับของภาษา การใช้คำและกลุ่มคำในประโยค: การเขียนทางการและไม่เป็นทางการ    3. การอ่าน (ไทย/อังกฤษ) เชิงสังเคราะห์ เพื่อย่อและสรุป (เขียนย่อความ และเขียนสรุปความ)    4. การจัดระบบความคิด เพื่อเรียบเรียงสู่การเขียน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. ฝึกปฏิบัติ การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการ    2. เขียนบทความอย่างไร ให้น่าอ่าน: บทความทั่วไป    3. บทความวิชาการ(ไทย/อังกฤษ) เขียนอย่างไรให้ได้ (ตีพิมพ์) ให้โดน (ใจผู้ทรงฯ)    4. เขียนอะไรดี: จากเรื่องราว สู่งานเขียน1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared Leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ    2. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    -“ระดับของภาษา การใช้คำและกลุ่มคำในประโยค : การเขียนทางการและไม่เป็นทางการ” โดย รศ.ดร.ชลธิชา หอมฟุ้ง    -“การอ่าน (ไทย/อังกฤษ) เชิงสังเคราะห์ เพื่อย่อและสรุป (เขียนย่อความ และเขียนสรุปความ)” โดย อ.ดร.สินชัย จันทร์เสม    -“การจัดระบบความคิด เพื่อเรียบเรียงสู่การเขียน” โดย : ผศ.ดร.ศศิทร นพประไพ    – “เขียนบทความอย่างไร ให้น่าอ่าน: บทความทั่วไป” โดย คุณปารัณ เจียมจิตต์ตรง    – “บทความวิชาการ(ไทย/อังกฤษ) เขียนอย่างไรให้ได้ (ตีพิมพ์) ให้โดน (ใจผู้ทรงฯ). โดยรศ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน2/65
1075702  การจัดการคุณภาพสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา (Quality Management of Early Childhood and Primary Schools)  3(2-2-8)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน เนื้อหาสาระ    1.  ความเป็นผู้จัดการมืออาชีพ และการวางแผนงานด้านลูกค้าสัมพันธ์    2. การเป็นผู้นำทางวิชาการ และ การบริหารเวลา    3. การเลือกนวัตกรรมในการออกแบบหลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา    4. การจัดการหลักสูตร    5. การประเมินและปรับปรุงหลักสูตร    6. การศึกษาและสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการหลักสูตร    7. การประกันคุณภาพการศึกษา    8. การบูรณาการการพัฒนาเด็กกับมาตรฐานการบริหารสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน เนื้อหาสาระ    1. การวางแผนงานวิชาการและการสร้างวัฒนธรรมในการทำงาน    2. การวางแผนพัฒนาผู้เรียน    3. การวางแผนงบประมาณและการหาแหล่งทุนสนับสนุน    4. การวางแผนคัดเลือกและพัฒนาครู     5. การออกแบบภูมิสถาปัตย์ ให้ครอบคลุม สุขอนามัย และความปลอดภัยในสถานศึกษา   1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) ที่เน้นกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนำเสนองานวิชาการ และการคิด ให้ความเห็น และการรับฟังความเห็นแบบสะท้อนกลับ    2. จัดกิจกรรมโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเนื้อหาของวิชามาถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ สร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน หัวข้อบรรยายพิเศษ ดังนี้    -“การวางแผนงานวิชาการและการสร้างวัฒนธรรมในการทำงาน การวางแผพัฒนาผู้เรียน การวางแผนงบประมาณและการหาแหล่งทุนสนับสนุน และการวางแผนคัดเลือกและพัฒนาครู. โดย อ.กรองทอง บุญประคอง    -“การเลือกนวัตกรรมในการออกแบบหลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา” โดย ผศ.ดร.ปนัฐษรณ์ จารุชัยนิวัฒน์    – “ การประกันคุณภาพการศึกษา และการบูรณาการการพัฒนาเด็กกับมาตรฐานการบริหารสถานศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา. โดย ศ.ดร.อุทุมพร จามรมาน    – “การออกแบบภูมิสถาปัตย์ ให้ครอบคลุม สุขอนามัย และความปลอดภัยในสถานศึกษา” โดย คุณชัชนิล ซัง (ทิป)2/65

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65) หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1096101นโยบายการจัดการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ (Educational Management Policy of Thailand and Other Countries)3(3-0-9)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)การเรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) จากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. หัวข้อ: The Ministry of Education Policy in English Language Development for Students and Teachers in Basic Education วิทยากร: ดร.อาทิตยา ปัญญา (ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กระทรวงศึกษาธิการ)   2. หัวข้อ: สอนภาษาอังกฤษอย่างไรให้เด็กไทยใน Gen นี้ วิทยากร: ดร. ถนอม อินทรกำเนิด (นายกสภามหาวิทยาลัยสวนดุสิต)1/65
1096102เทคนิคและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับประถมศึกษา (Techniques and Instructional Management of English Language Teaching for Primary Education)3(3-0-9)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)การเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต จากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. หัวข้อ: Developing Creativity in Young Learners วิทยากร: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติธัช สุนทรวิภาต (ผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอกสาขาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)1/65
1096103การพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษและการประกันคุณภาพการศึกษา (English Language Curriculum Development and Educational Quality Assurance)3(3-0-9)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)การเรียนรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการศึกษาที่ยั่งยืนจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. หัวข้อ: Educational Trend and Curriculum for Basic Education in Thailand วิทยากร: ดร.จอมหทยา สนิทพงษ์เสฐียร (นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษสภาการศึกษา)1/65

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1091301การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับครูประถมศึกษา (Thai Language Teaching for Elementary Education Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ปัญหาและแนวทางในการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย                                   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การปฏิบัติการเพื่อการรู้หนังสืออย่างแตกฉานกิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) อาจารย์สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาถึงปัญหาในการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในด้านต่าง ๆ ตามประสบการณ์ของตนเอง โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นใน padlet 2) อาจารย์สรุปประเด็นปัญหาจากความคิดเห็นของนักศึกษา 3) นักศึกษาสืบค้นปัญหาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยสําหรับครูประถมศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหานั้น ๆ จากสื่อสังคมออนไลน์ 4) สืบค้นแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยที่ช่วยแก้ไขสาเหตุของปัญหา ดังกล่าวข้างต้น บนสื่ออินเทอร์เน็ต เพื่อหาแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น วิจัย บทความ วิทยานิพนธ์ นโยบาย เป็นต้น ข้อมูลย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี 5) นักศึกษานําเสนอรายงานโดยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับประถมศึกษาในห้องเรียนเป็นกลุ่ม 2) นักศึกษากลุ่มอื่น สลับบทบาทเป็นผู้เรียน 3) นักศึกษาแต่ละกลุ่มร่วมกันวิพากษ์การสอกลุ่มที่สาธิตการสอน 4). ผู้สอนให้ข้อชี้แนะในข้อที่ควรปรับปรุงแต่ละกลุ่ม  1/2565
1092306ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนประถมศึกษา (English Language for Elementary Education Classroom Teaching)    3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของสะเต็มศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21                   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ไวยกรณ์ คำศัพท์ ประโยค สำนวน และภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันในบริบทห้องเรียนประถมศึกษา โดยให้เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามมาตรฐานของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้การบริการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) – นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดกฏเกณฑ์เบื้องต้นในการเรียน และระเบียบของห้องเรียน – กิจกรรมการศึกษาค้นหาความรู้ด้วยตนเองทั้งกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว และมีกิจกรรมการนำเสนอในชั้นเรียน   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) -ทดลองสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา โดยมีการวิเคราะห์ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง 2551 และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน1/2565
1091102การประถมศึกษา (Elementary Education)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ พัฒนาการของหลักสูตรการประถมศึกษา และคุณลักษณะของครูประถมศึกษา                               SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ศึกษาพัฒนาการของหลักสูตรฯ ในระดับช่วงชั้นประถมศึกษา 2) อภิปรายและสรุปความสำคัญ ลักษณะของครูประถมศึกษา ภาระหน้าที่และบทบาทของครูประถมศึกษา ร่วมกันในชั้นเรียน 3) สังเกตการสอนและสัมภาษณ์ครูแล้วสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับทักษะและคุณลักษณะของครู ประถมศึกษาในศตวรรษที่ 21 และนำเสนอในรูปแบบของเรื่องเล่าดิจิทัล 4) อภิปรายและสรุปทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูประถมศึกษาในศตวรรษที่ 21 ร่วมกันในชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) สังเกตการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนในห้องเรียนประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ โดยกำหนดประเด็น สาระสำคัญดังนี้ – วิธีการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนระดับประถมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย – พฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้สอน เช่น ด้านร่างกาย อารมณ์ ฯลฯ – บริบทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน เช่น สื่อ ฯลฯ เพื่อสร้างนักศึกษาให้มีทักษะวิชาชีพครูประถมศึกษา1/2565
1092305การเรียนรู้แบบบูรณาการ  และสะเต็มศึกษา (Integrated Learning and STEM Education)  2(2-0-4)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของสะเต็มศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21                     SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ 1) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ทฤษฎี เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 2) การเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) – นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดกฏเกณฑ์เบื้องต้นในการเรียน และระเบียบของห้องเรียน – กิจกรรมการศึกษาค้นหาความรู้ด้วยตนเองทั้งกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว และมีกิจกรรมการนำเสนอในชั้นเรียน SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) -ทดลองสอนแบบรูปบูรณาการในระดับประถมศึกษา ทั้งด้านการบูรณาในสาระวิชา และการบูรณาการกับสถานการณ์จริง1/2565
1092303ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครูประถมศึกษา (English for communication for Elementary Education Teachers)3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)                                 SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)-กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้การทำงานเป็น ฐาน (Work-based Learning) ให้ลง มอปฏิบัติบ่อยๆ ใช้สถานการณ์จริง และปัญหาที่หลากหลาย เพื่อฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ และนำเสนองานเป็นกลุ่ม การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการปฏิบัติงานร่วมกัน –กิจกรรมศึกษาดูงานแบบเสมือนจริง (Virtual Study Visit) โครงการ La-or Plus ร.ร. สาธิตละอออุทิศ ที่จัดหลักสูตรการเรียน การสอนด้วยภาษาอังกฤษ สังเกตและบันทึก ข้อมูลการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสาร ประโยคต่างๆ บทสนทนา ทั้งในชั้นเรียน   -จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและการทำงาน ในสถานการณ์จริง ส่งเสริมการพัฒนาการคิด การทำงาน การ จัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น -กิจกรรมการออกแบบจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีทักษะศตวรรษที่ 21 และการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำทักษะเหล่านี้มาใช้ในการจัด การเรียนรู้เพื่อพัฒนา ผู้เรียน และการพัฒนาตนเอง -กิจกรรมการสืบค้นและนำเสนอรายงาน ประเด็นสำคัญด้านการศึกษาโดย บูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล -กิจกรรมการจัดทำอินโฟกราฟฟิกเพื่อ สรุปประเด็นสาระสำคัญของงานที่นำ -กิจกรรม การเรียนรู้โดยบูรณาการการ ปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา – เข้าร่วมกิจกรรมเสริมความ เป็นครูเป็นรายปีตลอดหลักสูต  1/2565
1092401ภาษากายและวรรณกรรมสำหรับเด็ก (Body Language and Literature for Children)    3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ศึกษาความสำคัญ ประวัติ และวิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กในประเทศไทย ประเภทของวรรณกรรมสำหรับเด็ก วิเคราะห์องค์ประกอบ แนวคิด คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรมจากหนังสือเรียนระดับประถมศึกษา ศึกษาความสำคัญของภาษากาย SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ ฝึกการใช้ภาษากายและเสียงในการเล่าเรื่อง การออกแบบและผลิตสื่อการสอนวรรณกรรมสำหรับเด็กประถมศึกษา ฝึกการใช้ภาษากาย  เสียง  และสื่อในการเล่าเรื่องเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กประถมศึกษากิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 – ศึกษา ค้นว้า แสวงหาความรู้ความสำคัญ ประวัติ และวิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กในประเทศไทย
จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ด้วยตนเอง – แบ่งกลุ่มระดมความคิดเกี่ยวกับลักษณะสำคัญและจุดมุ่งหมายของวรรณกรรมสำหรับเด็ก       กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 – ออกแบบและการผลิตสื่อวรรณกรรมสำหรับเด็กประถมศึกษา – ฝึกปฏิบัติการวางโครงเรื่อง และเขียนสคริปต์วรรณกรรมของตนเอง – ฝึกใช้เสียง ท่าทางประกอบในการเล่าเรื่อง/นิทาน  
1/2565
1072316ว่ายน้ำและการปฐมพยาบาล (Swimming and First Aid)2(1-2-3)ไม่มีไม่มี1/2565
1093509ทักษะการอ่านภาษาไทย     ในศตวรรษที่ 21 (Thai Language Reading Skill in 21st Century)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093510ทักษะการเขียนภาษาไทยสำหรับครูประถมศึกษา (Thai Language Writing Skill for Elementary Education Teachers) ผศ.ดร.เบญจมาศ ขำสกุล3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) เนื้อหาสาระ : การเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย     SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การเขียนบทความวิชาการปริทัศน์งานวิจัยการเขียนทางภาษาไทยกิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับประถมศึกษา 2) อภิปรายและสรุปความสำคัญสาระสำคัญ 3) ออกแบบกิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) ร่วมสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) อภิปรายและสรุปความสำคัญสาระสำคัญของการเขียนบทความวิชาการ 3) ร่วมกันกำหนดประเด็นที่ครูระดับประถมศึกษาควรเสนอแนะเพื่อผลิตบทความวิชาการปริทัศน์ด้านการเขียน1/2565
1093511ศิลปะการใช้ภาษาไทย              ในการสื่อสาร (Thai Language Arts in Communication)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)  เนื้อหาสาระ : การสื่อสารภาษาไทยผ่านสื่อดิจิทัล  SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  เนื้อหาสาระ : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์    กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง  1.สร้างสื่อการสอนภาษาไทยเพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาผ่านสื่อดิจิทัลเพื่อให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าถึงสื่อที่มีคุณภาพ  2.พูดสรุปความ พูดแสดงความรู้สึก พูดโต้แย้งในประเด็นต่างๆอย่างมีเหตุผล ผ่านสื่อสังคมออนไลน์    สาระสำคัญ  -การสื่อสารภาษาไทยอย่างถูกต้องผ่านสื่อดิจิทัลที่เหมาะสม  -การสร้างรูปแบบการสื่อสารภาษาไทยที่หลากหลายเพื่อให้เกิดการเข้าถึงอย่างวงกว้างผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 1/2565
1093512ภาษาไทย: มรดกของแผ่นดิน (Thai Language: Territory Heritage)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)  เนื้อหาสาระ : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักและการใช้ภาษาไทย และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21      SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  เนื้อหาสาระ : การออกแบบสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอนตามสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา บูรณาการกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4  1) ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักและการใช้ภาษาไทย และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  2) อภิปรายและสรุปความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักและการใช้ภาษาไทย และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ร่วมกันในชั้นเรียน    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8  1) ให้นักศึกษาออกแบบสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอน ตามสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา บูรณาการกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผ่านแผนการสอน  2) นักศึกษานำเสนอสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอนที่กำหนดไว้ โดยแสดงบทบาทสมมุติให้ตนเองเป็นผู้สอน และให้เพื่อนนักศึกษาเป็นผู้เรียน  3) อภิปรายและสรุปการนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน 1/2565
1093513ปริทรรศน์วรรณคดีไทย (Thai Literature Review)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การศึกษาวรรณคดีแต่ละสมัย วิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม ที่ปรากฏ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระดับประถมศึกษา         SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้
การศึกษาวรรณคดีสำคัญในแต่ละยุคสมัยที่เหมาะสมกับระดับชั้นประถมศึกษา
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ศึกษาวรรณคดีแต่ละสมัย วิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม ที่ปรากฏ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระดับประถมศึกษา 2) อภิปรายและสรุปวรรณคดีที่สำคัญ วิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม ที่ปรากฏ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระดับประถมศึกษา ร่วมกันในชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) ศึกษาวรรณคดีสำคัญในแต่ละยุคสมัยที่เหมาะสมกับระดับชั้นประถมศึกษา 2) นำเสนอผลการศึกษาโดยใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีที่หลากหลาย 3) อภิปราย แสดงความคิดเห็น และสรุปร่วมกัน1/2565
1093705เสียงและสำเนียงภาษาอังกฤษ  (English Language Sound and Accent)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093706ภาษาอังกฤษและความเข้าใจในพหุวัฒนธรรม (English Language and Cross-cultural Understandings)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093707ภาษาอังกฤษกับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก  (English Language and Relationship with Community and the World)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093708คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับระดับประถมศึกษา (English Language Vocabulary for Elementary Education Level)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093709หลักการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับครูประถมศึกษา (English Language Grammatical Usage for Elementary Education Teachers)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093605จำนวนและการดำเนินการกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง (Numbers and Operations with Real Situation Application)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ 1) การนำจำนวนไปใช้ และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน 2) ร้อยละ และการนำไปใช้3) การใช้จำนวนในชีวิตจริง และการพัฒนาความรู้สึกเชิงจำนวน4) การศึกษาแนวคิดจากงานวิจัยด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนและการดำเนินการ การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอนจำนวนและการดำเนินการ                         SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ 1) กระบวนการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการในชั้นเรียน
2) ฝึกปฏิบัติออกแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการที่มุ่งเน้นการเชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง และการถอดบทเรียน
3) ทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ ในห้องเรียนจริง หรือห้องเรียนเสมือนจริง และการถอดบทเรียน
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4  
มีดังนี้
1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning Approach) ซึ่งประกอบด้วย 1) Enactive Stage 2) Iconic Stage และ 3) Symbolic Stage ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
2) กิจกรรมการอภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
3) กิจกรรมการถอดบทเรียนร่วมกันเกี่ยวกับการนำจำนวนไปใช้ และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน โดยมุ่งเน้นถึงการเชื่อมโยงของมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการนำจำนวนไปใช้กับสถานการณ์จริง
4) กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากประเด็น/สถานการณ์ กรณีศึกษาซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่เรียนจากเอกสารวิชาการ บทความวิชาการ บทความวิจัย หรือสื่อวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8  
มีดังนี้
1) เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning Approach) ซึ่งประกอบด้วย 1) Enactive Stage  2) Iconic Stage และ 3) Symbolic Stage ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
2) นักศึกษาฝึกปฏิบัติออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ในห้องเรียนจริงหรือห้องเรียนเสมือนจริง โดยมีผู้สอน (อาจมีครูพี่เลี้ยง) และเพื่อนนักศึกษาร่วมกันสังเกต สะท้อนผล อภิปราย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนรู้
3) ถอดบทเรียนร่วมกันในภาพรวมเกี่ยวกับการออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการ PLC
1/2565
1093606การวัดและเรขาคณิตกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง (Measurement and Geometry with Real Situation Application)        3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ 1) โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต 2) มโนทัศน์และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต 3) การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต 4) แนวคิดจากงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในสาระการวัด และเรขาคณิต                                         SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การออกแบบปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงของนักเรียนประถมศึกษา ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับ โครงสร้างหลักสูตร การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต 2) ให้นักศึกษาร่วมกัน วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับ มโนทัศน์และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิตจากหลักสูตรแกนกลาง ฯ และตัวอย่างสถานการณ์ที่ผู้สอนกำหนดให้ จากนั้นให้นักศึกษาร่วมกันค้นหาหรือสร้างตัวอย่างสถานการณ์ของนักเรียนที่เกิดมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในสาระการเรียนรู้นี้ 3) ให้นักศึกษาได้ร่วมกันแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในสาระการวัดและเรขาคณิต ที่เหมาะสำหรับส่งเสริมทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย และสรุปจุดมุ่งหมายของการนำปัญหาไปใช้กับนักเรียนระดับประถมศึกษา 4) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษา ค้นคว้า แนวคิด/ทฤษฎี/โมเดล ที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิตจากงานวิจัย และนำมาอภิปราย แลกเปลี่ยนในชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) ให้นักศึกษาลงมือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนตามสภาพจริง และร่วมวิเคราะห์ สังเคราะห์ลักษณะของปัญหาที่กำหนดให้ เพื่อสรุปกรอบของปัญหาที่เหมาะสมสำหรับพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับชีวิตจริง 2) บูรณาการมโนทัศน์ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต ร่วมกับทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ดิจิทัล และแนวคิดจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาออกแบบปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงของนักเรียนประถมศึกษา ในสาระการเรียนรู้การวัดและเรขาคณิต1/2565
1093607พีชคณิตกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง (Algebra and Real Situation Application)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ 1) แบบรูป ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน 2) การใช้นิพจน์ สมการและอสมการ 3) การศึกษาแนวคิดจากงานวิจัยด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพีชคณิต การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอนพีชคณิต                                 SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ 1) กระบวนการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับพีชคณิตในชั้นเรียน
2) ฝึกปฏิบัติออกแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับพีชคณิตที่มุ่งเน้นการเชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง และการถอดบทเรียน
3) ทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ ในห้องเรียนจริง หรือห้องเรียนเสมือนจริง และการถอดบทเรียน
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4   1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning Approach) ซึ่งประกอบด้วย 1) Enactive Stage 2) Iconic Stage และ 3) Symbolic Stage ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
2) กิจกรรมการอภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
3) กิจกรรมถอดบทเรียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยมุ่งเน้นถึงการเชื่อมโยงของมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตลอดจนการเชื่อมโยงสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกับสถานการณ์จริง 4) กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากประเด็น/สถานการณ์ กรณีศึกษาซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่เรียนจากเอกสารวิชาการ บทความวิชาการ บทความวิจัย หรือสื่อวิดิทัศน์ที่เกี่ยวข้อง   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8   1) เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning Approach) ซึ่งประกอบด้วย 1) Enactive Stage  2) Iconic Stage และ 3) Symbolic Stage ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
2) นักศึกษาฝึกปฏิบัติออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ในห้องเรียนจริงหรือห้องเรียนเสมือนจริง โดยมีผู้สอน (อาจมีครูพี่เลี้ยง) และเพื่อนนักศึกษาร่วมกันสังเกต สะท้อนผล อภิปราย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนรู้
3) ถอดบทเรียนร่วมกันในภาพรวมเกี่ยวกับการออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการ PLC
1/2565
1093608สถิติและความน่าจะเป็นกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง (Statistics and Probability with Real Situation Application)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล และแนวคิดจากงานวิจัยด้านการเรียนการสอนสถิติและความน่าจะเป็นในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์จริง               SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การศึกษามโนทัศน์เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมุ่งเน้นให้เข้าใจกระบวนการทางสถิติ การใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ความน่าจะเป็น และการนำไปใช้กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) เรียนรู้แหล่งข้อมูลในการสืบค้นงานวิจัยทางด้านการศึกษาจากฐานข้อมูลงานวิจัย e-Research ของมหาวิทยาลัย และฐานข้อมูลอื่นๆ โดยร่วมกันสังเคราะห์ อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ และการนำไปประประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง 2) ศึกษามโนทัศน์เรื่องสถิติและความน่าจะเป็นในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกันวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน พร้อมร่วมกันออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาในอนาคต   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Approach) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง ความรู้ในชั้นเรียนสู่การลงมือปฏิบัติจริง เน้นการนำหลักการเกี่ยวกับหลักสถิติ ระเบียบวิธีการทางสถิติ และการวิจัยเบื้องต้นไปประยุกต์ใช้ในการทำวิจัย โดยให้ผู้เรียนเลือกหัวข้อวิจัยตามที่สนใจในบริบทของการทำงานในอนาคต1/2565
1093609คณิตศาสตร์บูรณาการกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง (Integrated Mathematics with Real Situation Application)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง                   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ – การคำนวณเพื่อแก้ปัญหาและตัดสินใจในชีวิตประจำวัน – การแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงโดยประยุกต์แนวคิดทางคณิตศาสตร์ ผ่านกิจกรรมสะเต็มศึกษา – ฝึกปฏิบัติจัดทำโครงงานคณิตศาสตร์เพื่อนำไปใช้ในสถานการณ์จริงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) – นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดกฎเกณฑ์เบื้องต้นในการเรียน และระเบียบของห้องเรียน – กิจกรรมการศึกษาค้นหาความรู้ด้วยตนเองทั้งกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว และมีกิจกรรมการนำเสนอในชั้นเรียน   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) -ทดลองสอนแบบรูปบูรณาการในระดับประถมศึกษา ทั้งด้านการบูรณาในสาระวิชา และการบูรณาการกับสถานการณ์จริง1/2565
1093519ศาสนาและหลักธรรมเพื่อสันติสุขอย่างยั่งยืน (Religion and Moral Principles for Sustainable Peace)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1093520ประวัติศาสตร์และสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 (History and 21st Century Global Society)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ศึกษาพัฒนาการทางประวัติ ศาสตร์ทั้งไทย เพื่อเชื่อมโยงในบริบทโลก เสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งในระบบ นอกระบบและอัธยาศัย   SDG 11 : การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม(Sustainable Cities and Communities) สาระการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์แต่ละสมัย                         มีหลักฐานมรดกทางวัฒนธรรม สืบสานและอนุรักษ์  สำหรับการต่อยอดในการพัฒนาสำหรับครูประถมศึกษาที่ควรรู้กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1.ศึกษาพัฒนาการทางประวัติ ศาสตร์ของไทยและสากล 2. อภิปราย Time line ในแต่ละช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ไทยกับประวัติศาสตร์โลก 3.ทัศนศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ ทั้งในระบบ นอกระบบและอัธยาศัย ณ สถานที่จริง   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 11 1) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทั้งชั้นต้นและชั้นรองที่ใช้สำหรับวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ 2. อภิปรายหลักฐานชิ้นสำคัญทางประวัติศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย 3. ทัศนศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ อาทิ พิพิธภัณฑ์ทั้งรัฐและเอกชน รวมทั้งศึกษา ณ สถานที่ทางประวัติศาสตร์1/2565
1093521การรู้เรื่องภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม (Geographic and Environmental Literacy)  3(2-2-5)SDG 12 : การสรรหาแหล่งอาหารและสิ่งอุปโภคบริโภค และ                 การจัดการขยะและการลด                    การใช้ทรัพยากร (Responsible Consumption and Production) สาระการเรียนรู้ ภาวะวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม และผลกระทบ ความเสี่ยงภัยของมนุษย์จากมลพิษสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 12 ศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อม, ศึกษาชุมชนต้นแบบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ผสานกับภูมิสังคมอย่างยั่งยืน  1/2565
1093522เศรษฐกิจประเทศไทยและเศรษฐกิจโลก (Thai and Global Economy)3(3-0-6)SDG 1: การสนับสนุนการขจัดความยากจนสำหรับนักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (No Poverty) สาระการเรียนรู้ เศรษฐกิจครัวเรือน, การดำเนินชีวิตทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและ สังคม, การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 1 วิเคราะห์และนำเสนอวิธีการบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรือน, จัดทำบันทึก และวิเคราะห์ผลการทำบัญชีครัวเรือนรายบุคคล, วิเคราะห์การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการแก้ปัญหาการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม1/2565
1093523พลวัตสังคมและการเมืองไทย  (Social Dynamic and Thai Politics)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี1/2565
1091302วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับครูประถมศึกษา (Science and Technology for Elementary Education Teachers) ผศ.ดร.กัลยา ชนะภัย        3(2-2-5)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การเป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษยชาติและสภาพแวดล้อม    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1. ผู้สอนแบ่งนักศึกษาออกเป็น 6 กลุ่ม และให้นักศึกษาสร้างสรรค์การแสดงพฤติกรรมการเป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์จากสถาการณ์ต่าง ๆ โดยการแสดงบทบาทสมมติ 2. นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอการแสดงบทบาทสมมติตามที่ได้รับมอบหมาย   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 ผู้สอนแบ่งกลุ่มนักศึกษาออกเป็น 6 กลุ่มและให้นักศึกษา ศึกษากรณีศึกษาที่ได้รับโดยร่วมกันแสดงความคิดเห็นภายในกลุ่มถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับการใช้ชีวิตประจำวันในแง่มุมต่างๆ เช่น  การดำเนินชีวิตในปัจจุบัน การบูรณาการไปสู่การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประโยชน์ของการนำวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และข้อจำกัดต่างๆ ที่นักศึกษาต้องพบในปัจจุบัน 2.ตัวแทนนักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอในรูปแบบของแผนผังความคิด และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ๆ2/2565
1091303สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญาไทยสำหรับ   ครูประถมศึกษา (Social Studies, History and Thai Wisdom for Elementary Education Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในศตวรรษที่ 21  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4 -การศึกษาเทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม – วิเคราะห์แนวคิด Fintech กับ เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน – การออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวคิดการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo Literacy) – การออกแบบการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 212/2565
1091304คณิตศาสตร์สำหรับ           ครูประถมศึกษา (Mathematics for Elementary Education Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)         SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)    ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล แนวคิดจากงานวิจัยด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และกระบวนการทำงานร่วมกันของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพได้   “จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและการทำงานในสถานการณ์จริง ส่งเสริมการพัฒนาการคิด การทำงาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น โดยบูรณาการ การทำงานกับการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนา ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและรับผิดชอบต่อผู้เรียนโดยยึดผู้เรียนสำคัญที่สุด 6.4 สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม” “1. วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. ออกแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3. ทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 4. วิพากษ์การจัดการเรียนรู้”2/2565
1091305สุขภาพและการออกกำลังกายสำหรับครูประถมศึกษา (Health and Exercise for Elementary Education Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)      1.กิจกรรมกลุ่มและการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน
เป็นทีม   1.กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา จากการฟังบรรยายเชิงปฏิบัติการจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะเพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและชุมชนท้องถิ่นได้
2/2565
1092307การเรียนรู้แบบบูรณาการสาระความรู้กับภาษาอังกฤษ (Content and Language Integrated Learning – CLIL)  3(3-0-6)SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)

SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)                     SDG 11: การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม (Sustainable Cities and Communities)  
กิจกรรมการทำโปสเตอร์นำเสนอประวัติศาสตร์ ข้อดีข้อเสีย และคำแนะนำในการบริโภค ของเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน   1. กิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือแล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชั้นเรียน 2. กิจกรรมเสริมสร้างเจตคติที่ดีในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เช่น การเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง ภาพยนตร์ การ์ตูน เกม และการฝึกอ่านข่าวในอินเตอร์เนต   1. กิจกรรมการจัดทำนิทรรศการวันสำคัญในประเทศไทยเป็นภาษาอังกฤษ 2. กิจกรรมการพูดเล่าเรื่องการเข้าร่วมเทศกาลสำคัญที่ผ่านมา เช่น วันคริสต์มาส วันตรุษจีน วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์2/2565
1092304ศิลปะ ดนตรี และลีลาสำหรับเด็กประถมศึกษา (Art, Music and Gesture for Elementary Education Children)  3(2-2-5)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)   SDG 11 : การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม(Sustainable Cities and Communities)1. กิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์พัฒนาการทางศิลปะของเด็กระดับประถมศึกษา โดยใช้กรณีศึกษา 2. กิจกรรม วาดภาพธรรมชาติด้วยวรรณะสีเย็น วาดภาพจิตนาการด้วยวรรณะสีคู่ตรงข้ามโดยใช้การเรียนรู้การปฏิบัติจริง 3. กิจกรรม ร้องประสานเสียง โดยใช้การเรียนรู้การปฏิบัติจริง 4. กิจกรรม การเคลื่อนไหวตามองค์ประกอบโดยใช้การเรียนรู้การปฏิบัติจริง 5. กิจกรรม ฝึกการวิจารณ์และชื่นชมผลงานศิลปะ ดนตรีและลีลานาฏศิลป์โดยใช้กรณีศึกษา 6. กิจกรรม การสร้างสรรค์ ศิลปะ ดนตรีและลีลา:ทัศนศิลป์สองมิติ เช่น วาดภาพประกอบ ภาพพิมพ์นูนสูง 7. กิจกรรม การสร้างสรรค์ ศิลปะ ดนตรีและลีลา:ทัศนศิลป์สามมิติ เช่น งานปั้นดิน งานปะติดสื่อผสม 8. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโน๊ตดนตรีโดย การปฏิบัติจริงร่วมกับสื่อ การสอนดิจิตอล 9. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี (รีคอร์ดเดอร์) โดยการปฏิบัติจริง 10. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติการเคลื่อนไหว โดยการปฏิบัติจริง 11. กิจกรรม ฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ไทยและสากล โดยใช้การปฏิบัติจริง 12. กิจกรรม การจัดการเรียนรู้ และการนำเสนอทัศนศิลป์ระดับประถมศึกษา 13. กิจกรรม การจัดการเรียนรู้และการนําเสนอการแสดงดนตรีระดับประถมศึกษา 14. กิจกรรม ประยุกต์ใช้และบูรณาการศิลปะ ดนตรี และลีลาระดับประถมศึกษา โดยจัดโครงการนิทรรศการศิลปะ ดนตรีและลีลาสําหรับเด็กประถมศึกษา โดยการปฏิบัติจริงในสถานศึกษา2/2565
1092307การเรียนรู้แบบบูรณาการสาระความรู้กับภาษาอังกฤษ (Content and Language Integrated Learning – CLIL)3(3-0-6)SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)

SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)                 SDG 11: การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม (Sustainable Cities and Communities)  
กิจกรรมการทำโปสเตอร์นำเสนอประวัติศาสตร์ ข้อดีข้อเสีย และคำแนะนำในการบริโภค ของเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน   1. กิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือแล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชั้นเรียน 2. กิจกรรมเสริมสร้างเจตคติที่ดีในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เช่น การเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง ภาพยนตร์ การ์ตูน เกม และการฝึกอ่านข่าวในอินเตอร์เนต   1. กิจกรรมการจัดทำนิทรรศการวันสำคัญในประเทศไทยเป็นภาษาอังกฤษ 2. กิจกรรมการพูดเล่าเรื่องการเข้าร่วมเทศกาลสำคัญที่ผ่านมา เช่น วันคริสต์มาส วันตรุษจีน วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์2/2565
1083407การศึกษาพิเศษ (Special Education)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาพิเศษ สถานการณ์และแนวโน้มการจัดการศึกษาสำหรับเด็ดที่มีความหลากหลายและความต้องการพิเศษ                   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การคัดกรองความพิการ การจัดทำแผนการ ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว และการจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล สาระการเรียนรู้ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวมและเทคนิคการสอนสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4 1) หลังจากการเรียนรู้ เกี่ยวกับ แนวคิด และทฤษฎีการจัดการศึกษาพิเศษ ให้นักศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์สถานการณ์การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆต่อการจัดการศึกษาพิเศษในประเทศไทย 2) ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประสิทธิภาพการจัดการศึกษาพิเศษในประเทศไทยได้แก่ การศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม และการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3) ให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกฎหมายและนโยบายที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในศตวรรษที่ 21   กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 8 1) หลังจากการศึกษาวิธีการใช้แบบคัดกรองความพิการประเภทต่างๆ ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประสิทธิภาพ และข้อควรระวังของการใช้งานแบบคัดกรองความพิการแต่ละประเภท 2) ให้นักศึกษารายงานผลการสังเกตการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษในศูนย์การช่วยเหลือระยะเเรกเริ่ม 3) ฝึกปฏิบัติการประเมินพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กพิเศษและเขียนแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว 4) ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์หลักสูตรและเขียนแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 10 1) ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทบาทของครูทั่วไปและครูการศึกษาพิเศษในระบบการจัดการศึกษา แบบเรียนรวม 2) ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดทำสื่อการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนให้สามารถเรียนรู้ได้อยากมีคุณภาพเช่นเดียวกับนักเรียนคนอื่นๆ 3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มค้นคว้าเกี่ยวกับ การจัดชั้นเรียนตามหลักการออกแบบการเรียนรู้สำหรับทุกคน เพื่อส่งเสริมโอกาสทางการเรียนรู้อย่างเสมอภาคสำหรับนักเรียนที่มีความหลากหลาย2/2565
1092306ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนประถมศึกษา (English Language for Elementary Education Classroom Teaching)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของสะเต็มศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21                     SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ไวยกรณ์ คำศัพท์ ประโยค สำนวน และภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันในบริบทห้องเรียนประถมศึกษา โดยให้เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามมาตรฐานของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้การบริการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) – นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดกฏเกณฑ์เบื้องต้นในการเรียน และระเบียบของห้องเรียน – กิจกรรมการศึกษาค้นหาความรู้ด้วยตนเองทั้งกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว และมีกิจกรรมการนำเสนอในชั้นเรียน   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) -ทดลองสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา โดยมีการวิเคราะห์ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง 2551 และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน2/2565
1093514ปริทรรศน์วรรณกรรมร่วมสมัยไทย (Contemporary Literature Review)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัย วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมที่ปรากฏในวรรณกรรม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันที่สอดคล้องกับระดับชั้นประถมศึกษา           SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัยไทย ที่สำคัญ เหมาะสมกับบริบททางสังคม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัย วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมที่ปรากฏในวรรณกรรม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันที่สอดคล้องกับระดับชั้นประถมศึกษา 2) อภิปรายและสรุปวรรณกรรมร่วมสมัย วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมที่ปรากฏในวรรณกรรม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันที่สอดคล้องกับระดับชั้นประถมศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) ศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัยไทย ที่สำคัญ เหมาะสมกับบริบททางสังคม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2) นำเสนอผลการศึกษาโดยใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีที่หลากหลาย 3) อภิปราย แสดงความคิดเห็น และสรุปร่วมกัน2/2565
1093515ภาษาศาสตร์สำหรับ          ครูประถมศึกษา (Linguistics for Elementary Education Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   เนื้อหาสาระ : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์  และปัญหาข้อบกพร่องในด้านการออกเสียง            SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  เนื้อหาสาระ : การวิเคราะห์ “ปัญหาการออกเสียงภาษาไทย” เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กประถมศึกษา   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4  1) ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ และปัญหาข้อบกพร่องในด้านการออกเสียง  2) อภิปรายและสรุปความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ และปัญหาข้อบกพร่องในด้านการออกเสียง ร่วมกันในชั้นเรียน    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8  1) ให้นักศึกษาวิเคราะห์ “ปัญหาการออกเสียงภาษาไทย” เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กประถมศึกษา   2) นักศึกษานำเสนอผลการวิเคราะห์ “ปัญหาการออกเสียงภาษาไทย” เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กประถมศึกษา  3) อภิปรายและสรุปการนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน 2/2565
1093516การเขียนผลงานทางวิชาการ (Academic Writing)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)  สาระการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าข้อมูล            SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  สาระการเรียนรู้ เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ     กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4  1) ศึกษาวิธีการค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล  2) อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิดใจรับฟังข้อเท็จจริง (fact) และทัศนะ (opinion) จากเพื่อนและอาจารย์ สังเคราะห์ ประมวลและสรุปข้อมูล     กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8  1) นำเสนอบทความที่นักศึกษาสนใจ ฝึกวิเคราะห์และวิพากษ์พร้อมทั้งฝึกการนำเสนองานต่อชั้นเรียน  2) ฝึกการเขียนบทความทางวิชาการในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจทีละองค์ประกอบ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้  – การตั้งชื่อเรื่อง  – การเขียนบทนำ  – การเขียนเนื้อเรื่อง  – การเขียนข้อสรุป  – การเขียนอ้างอิง 2/2565
1093517การสร้างบทเรียนภาษาไทย (Thai Lesson Creation)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093518วาทวิทยาสำหรับครู (Speech for Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)  เนื้อหาสาระ : การพูดเล่าเรื่อง การพูดบรรยาย การพูดอธิบาย   SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)  เนื้อหาสาระ : การฝึกฝนการพูดในสถานการณ์จริง   กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง  1.การพูดเล่าเรื่อง การพูดบรรยาย การพูดอธิบาย เนื้อหาต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนระดับประถมศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้เข้าถึงและเข้าใจเรื่องราวผ่านสื่อดิจิทัล  2.การให้นักศึกษาได้มีโอกาสจัดกิจกรรมให้กับเด็กระดับประถมศึกษาเพื่อฝึกฝนการพูดในฐานะที่เป็นครู  สาระสำคัญ  -การพูดเล่าเรื่อง การพูดบรรยาย การพูดอธิบาย  -การฝึกปฏิบัติการพูด 2/2565
1093710การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ   ก้าวทันโลก (English Reading for Accordance with the World)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093711การประเมินทักษะทางภาษาอังกฤษ (English Language Skill Assessment)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093712ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนสื่อสาร (English in Communicative Classrooms)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093713ภาษาอังกฤษเพื่อการนําเสนอ (English for Presentation)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093714ภาษาอังกฤษสู่ความก้าวหน้าเชิงวิชาการ (English for Academic Advancement)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093610การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (Development of Mathematical Skills and Processes)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ 1) การวิเคราะห์แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ปัญหา 2) การวิเคราะห์แนวคิดของการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 3) การวิเคราะห์แนวคิดการเชื่อมโยง 4) การวิเคราะห์แนวคิดการให้เหตุผลและการคิดสร้างสรรค์                                             SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)
เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
1) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2) ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3) ฝึกปฏิบัติจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4)ทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ ในห้องเรียนจริง หรือห้องเรียนเสมือนจริง และการถอดบทเรียน  
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 มีดังนี้ 1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีสอนที่เน้นการแก้ปัญหา (Problem-oriented Teaching Method) ซึ่งประกอบด้วย 1) Cognitive Problem 2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results  4) Method Extensions 5) Method Comparisons       6) Sum-up and Increasing ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) Plan 2) Do 3) See
2) กิจกรรมการอภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
3) กิจกรรมการถอดบทเรียนร่วมกันเกี่ยวกับการวิเคราะห์การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์กับการประยุกต์ใช้
4) กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากประเด็น/สถานการณ์ กรณีศึกษาซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่เรียนจากเอกสารวิชาการ บทความวิชาการ บทความวิจัย หรือสื่อวิดิทัศน์ที่เกี่ยวข้อง   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8     มีดังนี้ 1) เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีสอนที่เน้นการแก้ปัญหา (Problem-oriented Teaching Method) ซึ่งประกอบด้วย         1) Cognitive Problem           2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results 4) Method Extensions 5) Method Comparisons 6) Sum-up and Increasing ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) Plan 2) Do 3) See
2) นักศึกษาฝึกปฏิบัติโดยการนำความรู้เรื่องทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหา สถานการณ์จริง และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน และทดลองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยมีการดำเนินงานผ่านกระบวนการ PLC
3) ถอดบทเรียนร่วมกันในภาพรวมเกี่ยวกับการออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการ PLC
2/2565
1093611การประยุกต์ทฤษฎีทางการศึกษาคณิตศาสตร์ในการพัฒนาการเรียนการสอน (Application of Mathematical Education Theory in Mathematic sInstruction Development)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ 1) การวิเคราะห์ปรัชญา และหลักการสอนคณิตศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
2) การวิเคราะห์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคณิตศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
3) การวิเคราะห์โมเดลการสอนคณิตศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน                                             SDG 8 :การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)
เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
1) แนวทางการประยุกต์ทฤษฎีทางการศึกษาคณิตศาสตร์ในการพัฒนาการเรียนการสอน
2) ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎีทางการศึกษาคณิตศาสตร์
3) ฝึกปฏิบัติประยุกต์ทฤษฎีทางการศึกษาคณิตศาสตร์ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ และการถอดบทเรียน
4) ทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้ ในห้องเรียนจริง หรือห้องเรียนเสมือนจริง และการถอดบทเรียน  
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 มีดังนี้ 1) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีสอนที่เน้นการแก้ปัญหา (Problem-oriented Teaching Method) ซึ่งประกอบด้วย 1) Cognitive Problem 2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results  4) Method Extensions 5) Method Comparisons       6) Sum-up and Increasing ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) Plan 2) Do 3) See
2) กิจกรรมการอภิปราย และซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
3) กิจกรรมการถอดบทเรียนร่วมกันเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคณิตศาสตร์ โมเดลการสอนคณิตศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
4) กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากประเด็น/สถานการณ์ กรณีศึกษาซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่เรียนจากเอกสารวิชาการ บทความวิชาการ บทความวิจัย หรือสื่อวิดิทัศน์ที่เกี่ยวข้อง   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8     มีดังนี้ 1) เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยวิธีสอนที่เน้นการแก้ปัญหา (Problem-oriented Teaching Method) ซึ่งประกอบด้วย         1) Cognitive Problem           2) Analysis Problem and Solving it 3) Summary Results  4) Method Extensions  5) Method Comparisons  6) Sum-up and Increasing ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ซึ่งประกอบด้วย 1) Plan 2) Do 3) See
2) นักศึกษาฝึกปฏิบัติประยุกต์ทฤษฎีทางการศึกษาคณิตศาสตร์ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหา สถานการณ์จริง และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน และทดลองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยมีการดำเนินงานผ่านกระบวนการ PLC
3) ถอดบทเรียนร่วมกันในภาพรวมเกี่ยวกับการออกแบบและทดลองจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการ PLC
2/2565
1093612เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ (Technology and Innovation for Mathematics Instruction)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้สู่การฝึกปฏิบัติประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตสื่อและจัดการเรียนการสอน คณิตศาสตร์         SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลและบริหารจัดการ การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ การใช้เครื่องคำนวณและเครื่องคำนวณเชิงกราฟทางคณิตศาสตร์ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปพื้นฐานและโปรแกรมสำเร็จรูปทางคณิตศาสตร์ และการประยุกต์เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตสื่อและจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูลในการสืบค้นการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตสื่อและจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์จากฐานข้อมูลต่าง ๆ โดยร่วมกันอภิปราย และสรุปเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตสื่อ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาปัญหาที่พบเจอในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เป็นตัวนำมาสู่การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อจัดการกับปัญหาดังกล่าว โดยเน้นการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตสื่อและจัดการเรียนการสอน2/2565
1093613ประเด็นและแนวโน้มทางการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา (Issues and Trends in Mathematics Instruction at the Elementary Level)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ 1) การเปลี่ยนแปลงด้านหลักสูตร เนื้อหาสาระการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในระดับประถมในอดีตถึงปัจจุบัน 2) แนวทางการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษาในปัจจุบัน 3) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษาในปัจจุบัน                          SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ การบูรณาการใช้แนวทางในการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาสมรรถนะด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของนักเรียนระดับประถมศึกษา    กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านหลักสูตร เนื้อหาสาระการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในระดับประถมในอดีตถึงปัจจุบัน และหลักสูตรฐานสมรรถนะ    2) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษา ค้นคว้างานวิจัย 5 ปี ย้อนหลัง เพื่อร่วมกันวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวโน้มของการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนประถมศึกษาในประเด็นดังต่อไปนี้ 1) ความรู้ความสามารถของนักเรียนที่ต้องการแก้ไขหรือพัฒนา 2)  ทฤษฎี/แนวคิด/เทคนิค ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนประถมศึกษา  3) แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ 4) ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะจากงานวิจัย   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 8 1) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษาตัวอย่างกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เน้นพัฒนาสมรรถนะของนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับสมรรถนะด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันแนวทางในการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ และแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากกิจกรรมการเรียนการสอนที่กำหนดให้ เพื่อร่วมกันสรุปในประเด็นข้างต้น 2) ให้นักศึกษาบูรณาการความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาสมรรถนะด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน2/2565
1093614ภาษาอังกฤษสําหรับ          ครูคณิตศาสตร์ (English for Mathematics Teachers)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้  ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่านและนำเสนอบทความวิชาการ และบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์     SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) สาระการเรียนรู้ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 4 1) นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดกฎเกณฑ์เบื้องต้นในการเรียน และระเบียบของห้องเรียน 2) กิจกรรมการศึกษาค้นหาความรู้ด้วยตนเองทั้งกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว และมีกิจกรรมการนำเสนอในชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 8  นักศึกษาฝึกการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนประถมศึกษาโดยใช้ภาษาอังกฤษ2/2565
1092524ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก (Regional Geography of the World)3(3-0-6)ไม่มีไม่มี2/2565
1093525ประชากรและการพัฒนา (Population and Development)  3(3-0-6)SDG 1: การสนับสนุนการขจัดความยากจนสำหรับนักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (No Poverty)     สาระการเรียนรู้ สถิตของประชากรที่ใช้ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG 1 1) ศึกษาข้อมูล/สารสนเทศ [ข้อมูลจปฐ. ข้อมูลโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) วิเคราะห์ปัญหาของนักศึกษา] 2) สนทนา วิเคราะห์ข้อมูลปัญหากับนักศึกษา 3) จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักศึกษาตามแนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขและพึ่งตนเองได้  2/2565
1093526โลก สิ่งแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลง (Earth, Environment and Change of Earth)  3(3-0-6)SDG 13 : การร่วมมือกับภาครัฐและชุมชนเพื่อการวางแผนรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Action) สาระการเรียนรู้ สถานการณ์สิ่งแวดล้อมด้านภูมิอากาศ, การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก, การอนุรักษ์และการจัดการสิ่งแวดล้อมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDG13 ระดมความคิดเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านอากาศวิเคราะห์ ปัญหา Climate Change และ เป้าหมาย Net Zero ปี 2065, ให้นำเสนอแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม, จัด กิจกรรมศึกษานอกสถานที่โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อโรงเรียนและชุมชน2/2565
1093527สังคมและวัฒนธรรมไทย    ร่วมสมัย (Contemporary Thai Society and Culture)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ ศึกษาเพื่อความเข้าใจวัฒนธรรมไทย ธำรงรักษา และสืบทอด    SDG 11 : การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม (Sustainable Cities and Communities) สาระการเรียนรู้ ศึกษาความเป็นมาของภูมิปัญญาไทย ธำรงรักษา และสืบทอด กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1) อภิปรายกลุ่มแบบมีส่วน 2) สืบค้นแหล่งความรู้จากฐานข้อมูลประเภทต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือ 3. การทำงานกลุ่ม     กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 11
1) ยกตัวอย่างมรดกทางภูมิปัญญาที่สำคัญในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย 2) จัดอภิปรายความรู้ 3) ทัศนศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ ทางวัฒนธรรม และพิพิธภัณฑ์ทั้งรัฐและเอกชน 
2/2565
1093528ความสร้างสรรค์                ในอารยธรรมโลก (Creativities of World Civilization)  3(3-0-6)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) สาระการเรียนรู้ เสริมทักษะการค้นคว้าเนื้อหาอารยธรรมโลกจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและมีความน่าเชื่อถือ       SDG 11 : การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม (Sustainable Cities and Communities) สาระการเรียนรู้ ศึกษาอารยธรรมโลกทั้งซีกตะวันตกและตะวันออก เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจในความสร้างสรรค์ คิด ประดิษฐ์ นวัตกรรม เป็นมรดกทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่ส่งทอดต่อมาจนถึงปัจจุบันกิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 4 1. จัดอภิปรายกลุ่มแบบมีส่วนร่วมในประเด็นอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก 2. ฝึกทักษะการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและน่าเชื่อถือ 3. ฝึกการวิภาคข้อมูลโดยการนำเสนอข้อมูลความรู้หน้าชั้นเรียน   กิจกรรมที่เกี่ยวกับ SDG 11
1) ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานมรดกสร้างสรรค์ในอารยธรรม 2) การยกตัวอย่างมรดกโลกที่ควรรู้จัก ผลงานชิ้นเอก (Masterpiece) 3) ทัศนศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ อาทิ พิพิธภัณฑ์ทั้งรัฐและเอกชน รวมทั้งศึกษา ณ สถานที่ทางประวัติศาสตร์    
2/2565

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 , 1/65 และ 2/65) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)ประเด็นของ SDG ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา (ใส่เป็นหมายเลข)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1073502การเกิดอย่างมีคุณภาพ The Quality Birth3 (3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน           SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ – การดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ – สารอาหารที่จำเป็นสำหรับหญิงตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส – การเตรียมตัวก่อนคลอด – การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่   – การให้ความรู้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ – การออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ – กิจกรรมเพื่อพัฒนาทารกในครรภ์ – การดูแลตัวเองของคุณแม่หลังคลอดและการดูแลเด็กแรกเกิด – บทบาทของพ่อและครอบครัวในการดูแลคุณแม่ก่อนและหลังคลอด – การให้คำแนะนำแก่ครอบครัวเมื่อมีลูกคนต่อไป– ให้นักศึกษาประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ สารอาหารที่จำเป็นสำหรับหญิงตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส การเตรียมตัวก่อนคลอดของหญิงตั้งครรภ์ และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่   – ให้นักศึกษาทดลองให้ความรู้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ ฝึกท่าทางการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาทารกในครรภ์ แสดงบทบาทสมมติในการดูแลตัวเองของคุณแม่หลังคลอดและการดูแลเด็กแรกเกิด รวมถึงบทบาทของพ่อและครอบครัวในการดูแลคุณแม่ก่อนและหลังคลอด การทำแผ่นพับให้คำแนะนำแก่ครอบครัวเมื่อมีลูกคนต่อไป3/64
1073503การเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างคนต่างรุ่น (Intergenerational Interaction)3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน                       SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– ปัจจัยที่มีผลต่อสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว – การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างความสัมพันธ์ – การจัดกิจกรรมเพื่อสานความ สัมพันธ์                   – การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างความสัมพันธ์ – การจัดกิจกรรมเพื่อสานความ สัมพันธ์– ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สรุปแนวคิดในการอยู่ร่วมกัน ข้อดีและ ข้อจำกัดในการอยู่ร่วมกันของคนต่างรุ่น ร่วมกันออกแบบการจัดสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างความ สัมพันธ์ของครอบครัว สำรวจความต้องการของแต่ละช่วงวัยในการใช้ชีวิต และออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสานสัมพันธ์ให้กับสมาชิกในครอบครัว   – ให้นักศึกษาออกแบบการจัดสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างความ สัมพันธ์ของครอบครัว และออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสานสัมพันธ์ให้กับสมาชิกในครอบครัว และนำไปทดลองใช้ในครอบครัวของตนเอง2/64 3/64
1071307ศิลปะ ดนตรี และลีลาสำหรับเด็กปฐมวัย Art, Music and Movement for Young Children3(2-2-5)  SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)           SDG 11 การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม(Sustainable Cities and Communities)  การบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสำหรับครูในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ ดนตรี และการแสดงละครในสถานศึกษาปฐมวัย การจัดกิจกรรมศิลปะ ดนตรี การแสดงละคร และการเคลื่อนไหวให้กับเด็กปฐมวัย   การร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนเพื่อพัฒนาสุนทรียะของเด็กปฐมวัยนักศึกษาลงมือปฏิบัติกิจกรรมในสถานศึกษาในชุมชนตามบริบทของตนเอง               นักศึกษาลงพื้นที่สำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น และออกแบบกิจกรรมสุนทรียะที่สอดคล้องกับวัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น2/64, 2/65
1071109มาตุเวทวิทยา Maternity Science3(3-0-6)  SDG 3  การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)  การเลี้ยงดูเด็กทารก การอุ้มเด็ก การอาบน้ำ และการป้อนอาหาร และการฝึกปฏิบัติการดูแลเด็กเล็ก การพัฒนาทักษะทางสมองเพื่อบริหารจัดการชีวิต (EF) ทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย พหุปัญญา การบูรณาการองค์ความรู้ที่สร้างสรรค์ที่นำไปสู่การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อพัฒนาการเด็ก  – หาข้อมูลจากจัดศูนย์การเรียน ประกอบด้วยเรื่อง การอาบน้ำเด็ก การอุ้มเด็ก การป้อนอาหาร และโรคในเด็ก โดยการติด QR code ให้ดาวน์โหลดข้อมูล – ลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้ศึกษากับสถานการณ์จำลองจากอุปกรณ์ก่อนที่จัดเตรียมไว้ให้  และนำเสนอด้วยวิธีการที่หลากหลาย – แบ่งกลุ่มระดมความคิดในการสังเคราะห์พัฒนาการเด็กตามช่วงอายุ และออกแบบการนำเสนอเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก – แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ แนวทางปฏิบัติในการดูแลเด็กทารก (แรกเกิด –  1 ปี) – การดูแลเด็กในยุคโควิด-19 – จัดโครงการทักษะชีวิตภายใต้บริบทที่หลากหลาย1/65
1074907สัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย Seminar in Early Childhood Education  3 (2-2-5)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– ขั้นตอนและวิธีการจัดสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย – การเขียนโครงการสัมมนา     – บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดสัมมนา – การวิเคราะห์และติดตามผลการจัดสัมมนา – การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดสัมมนา – การฝึกปฏิบัติการจัดประชุมสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย– ให้นักศึกษาศึกษาขั้นตอนและวิธีการจัดสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งร่วมกันเขียนโครงการสัมมนา   – ให้นักศึกษาแบ่งบทบาทและหน้าที่ของผู้จัดสัมมนา วิเคราะห์และติดตามผลการจัดสัมมนา นำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดสัมมนา และฝึกปฏิบัติการจัดประชุมสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย2/64
1083407การศึกษาพิเศษ Special Education3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน         SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การคัดกรองบุคคลที่มีความบกพร่องประเภทที่ 1-9 – เทคโนโลยี สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ       – การฝึกปฏิบัติการคัดกรองเด็กพิการแต่ละประเภท – การศึกษาแบบเรียนรวม – การออกแบบหรือเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดทำสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ – การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล– ให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวข้องกับการคัดกรองบุคคลที่มีความบกพร่องประเภทที่ 1-9  และเทคโนโลยี สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ   -ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการคัดกรองเด็กพิการแต่ละประเภท  เทคนิคการจัดชั้นเรียนและการส่งเสริมกิจกรรมในชั้นเรียนของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ออกแบบหรือเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดทำสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล2/64
1071110การศึกษาปฐมวัย Early Childhood Education  3(3-0-6)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน         SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัยในประเทศและต่างประเทศ – นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย – การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย   – การมีส่วนร่วมกับผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย – หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560  -นักศึกษาศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เรื่อง  รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย ในประเทศและต่างประเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย   -นักศึกษาออกแบบการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย -นักศึกษาออกแบบกิจกรรมในการพัฒนาเด็ก และนำไปทดลองใช้ ณ โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ1/65
1071309ภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย (English for Preschool Teacher)3(3-0-6)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ การสนทนาในหัวข้อเกี่ยวกับชีวิตประจำวันที่คุ้นเคย – การอ่านเพื่อความเข้าใจข้อความหรือบทความสั้น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัย – เรียนรู้คำศัพท์เฉพาะทางด้านการศึกษาปฐมวัย – การใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ  การจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบโดยเน้นการเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติจริงทั้งในห้องเรียนโดยใช้เพลง/ดนตรีและการเคลื่อนไหว (Music & Movement), บทบาทสมมติ (Role Play) และในสถานการณ์จริงนอกห้องเรียนเพื่อให้เกิดทักษะภาษาอังกฤษทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน   – การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล (technological Pedagogical Content Knowledge: TPACK) การใช้สื่อเทคโนโลยี และแอพพลิเคชั่นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน ให้เกิดทั้งความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ครอบคลุมและและคำนึงถึงคุณภาพในการจัดเตรียมเนื้อหาสาระของการสอน และการเลือกใช้วิธีการสอน ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน – ฝึกทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ สืบเสาะหาความรู้ตามความถนัดและความสนใจ และส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างความรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน1/65
1072316ว่ายน้ำและการปฐมพยาบาล Swimming and First Aid2 (1-2-3)  SDG 3 การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น               SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน– การจัดกิจกรรมว่ายน้ำของเด็ก               – อุบัติเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุ การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นในสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย    – การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการเจ็บป่วยและจากการเกิดอุบัติเหตุ        – ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการว่ายน้ำ – การฝึกปฏิบัติการว่ายน้ำ – อุบัติเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุ การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นในสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย    – การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการเจ็บป่วยและจากการเกิดอุบัติเหตุ– ฝึกเป็นผู้ดูแลความเรียบร้อยในการจัดกิจกรรมว่ายน้ำของเด็ก – ฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นในสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย  – ฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการเจ็บป่วยและจากการเกิดอุบัติเหตุ    – ฝึกปฏิบัติการว่ายน้ำ – ฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นในสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย  – ฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการเจ็บป่วยและจากการเกิดอุบัติเหตุ           1/65
1072317ดนตรีสำหรับครูปฐมวัย Music for Preschool Teacher2 (0-2-4)  SDG 11 การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่ออนุรักษ์ศิลปะ มรดกทางวัฒนธรรม   SDG12 การสรรหาแหล่งอาหารและสิ่งอุปโภคบริโภค และการจัดการขยะและการลดการใช้ทรัพยากร  – การแต่งเพลงสำหรับเด็ก – การฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี – การผลิตเครื่องดนตรี    -ให้นักศึกษาจับคู่สืบค้น ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม จ า ก อินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับลักษณะ ของเพลงเด็กปฐมวัยทั้งเพลง ไ ท ย แ ล ะ เ พ ล ง ภาษาต่างประเทศ พร้อมทั้ง น ำเส น อ ก าร วิ เค ร าะ ห์ องค์ประกอบของบทเพลง เด็กตามลักษณะของเพลง เด็กหน้าชั้นเรียน – เครื่องดนตรีไทยฝึกปฏิบัติอังกะลุงเบื้องต้น -มอบหมายให้นักศึกษ า สืบค้นและวิธีออกแบบผลิต เครื่องด น ตรีสำหรับเด็ ก พร้อมทั้งประดิษฐ์เครื่อง ดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น เครื่องเขย่าที่ทำจาก ขวดพลาสติกเหลือใช้ คนละ 1 ชิ้น และนำส่งเครื่องดนตรี ที่เสร็จสมบูรณ์ในสัปดาห์ ถัดไป1/65
1072318นิทานและวรรณกรรมภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก English Tales and Literature for Young Children  3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมี ส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน       SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการนำเสนอนิทานและวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย       -การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อเลือกนิทานและวรรณกรรมในการปรับพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก   – การเลือกนิทานและวรรณกรรมภาษาอังกฤษที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยแต่ละช่วงวัย -การเขียนและนำเสนอนิทานและวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย -การเขียนโครงการสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมภาษาอังกฤษเป็นฐาน  – ฝึกปฏิบัติการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสืบค้นข้อมูลและนำเสนอนิทานและวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่นักศึกษาแต่งขึ้นหน้าชั้นเรียน – ฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อเลือกนิทานและวรรณกรรมในการปรับพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเด็กผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย   – ศึกษา ค้นคว้านิทานและวรรณกรรมภาษาอังกฤษที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยแต่ละช่วงวัย – ฝึกแต่งนิทาน ออกแบบนิทานที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยและนำเสนอนิทานที่แต่งขึ้น – ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมภาษาอังกฤษเป็นฐาน1/65
1073318การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย3(2-2-5)SDG 4
 
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน     SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคง ตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน
– รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย – การบริหารจัดการชั้นเรียน – การรจัดกิจกรรมประจำวันเชิงรุก – การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้   – การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา – การจัดกิจกรรมประจำวันเชิงรุก – การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้-ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย ,หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย, การจัดกิจกรรมประจำวัน และการเขียนแผนการจัดประสบการณ์   -ให้นักศึกษาออกแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เขียนแผนการจัดประสบการณ์ และนำไปทดลองใช้ในร.ร.สาธิตละอออุทิศ1/65
1073319ฉลาดรู้คณิต-วิทย์ (Mathematics-Science Intelligence)3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน         SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสำหรับเด็กปฐมวัย – ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย   – การออกแบบกิจกรรมบูรณาการที่ส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย – สะเต็มศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย – การจัดกิจกรรมการคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์โดยบูรณาการกับเทคโนโลยี ให้กับเด็กปฐมวัย – การออกแบบกิจกรรมบูรณาการที่ส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย – การจัดกิจกรรมการคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์โดยบูรณาการกับเทคโนโลยีให้กับเด็กปฐมวัย– ให้นักศึกษาศึกษา วิเคราะห์และสรุปแนวคิด หลักการ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสำหรับเด็กปฐมวัย และสาธิตการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสำหรับเด็กปฐมวัย วิเคราะห์และสรุปทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยและกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ – ให้นักศึกษาออกแบบการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยบูรณาการกับเทคโนโลยีให้กับเด็กปฐมวัย และนำไปทดลองใช้ในร.ร.สาธิตละอออุทิศ1/65  
1073321ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับวิชาชีพ (English for Professional Enhancement)3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education) SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ การอ่านบทความวิชาการและบทความวิจัยภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางการศึกษาปฐมวัยที่ตนเองสนใจ การนำเสนอข้อมูลในสถานการณ์ที่เป็นทางการ การเขียนจดหมายอิเลคทรอนิคและการเขียนจดหมายแบบเป็นทางการอื่น ๆ ตามรูปแบบมาตรฐานการเขียนอ้างอิงตามหลักสากลการ และจัดโครงการเพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษ-ผู้เรียนจับคู่ และสนทนาภาษาอังกฤษตามหัวข้อที่จับฉลากได้ เช่น ความสนใจ งานอดิเรก ประสบการณ์ส่วนตัว – การจัดสถานการณ์ตัวอย่างมาให้ให้ผู้เรียนจำลองสถานการณ์แต่งประโยคเพื่อพูดในสถานการณ์นั้น ๆ -ผู้สอนคัดเลือกบทความสั้น ๆ เพื่ออ่าน และแปลความ -ผู้สอนคัดเลือกจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะภาษา และรูปแบบการนำเสนอเนื้อหา การใช้เกม Kahoot คำศัพท์ที่พบได้บ่อยในข้อสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ1/65 2/65
1553408การพูดภาษาอังกฤษในยุคแห่งความหลากหลาย3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)     SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)หลักการและวิธีการพูดในที่ชุมชน การวางแผนและการจัดระเบียบวาระการพูด การพูดแบบไม่ได้เตรียมการมาก่อน การพูดเพื่อให้ข้อมูล การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ การพูดในโอกาสพิเศษหรือโอกาสเฉพาะนักศึกษาเรียนรู้หลักการและวิธีการพูดที่แบบที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน ผ่านการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning)การบรรยายหลักการพร้อมยกตัวอย่างประกอบ และการฝึกปฏิบัติวิธีการพูดแบบต่างๆจากสื่ออนไลน์ นักศึกษาฝึกปฏิบัติการพูดในหัวข้อต่างๆ เช่น การพูดแบบไม่ได้เตรียมการมาก่อน การพูดเพื่อให้ข้อมูล การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ และการพูดในโอกาสพิเศษหรือโอกาสเฉพาะ1/65
1071406สื่อ ของเล่นและการดูแลเด็กในยุคดิจิทัล3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน-การวิเคราะห์ เลือก ประยุกต์ ออกแบบและผลิต สื่อ ของเล่นและทรัพยากรการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก -การบูรณาการสื่อของเล่นกับกิจกรรมประจำวันโดยใช้แนวคิดของเล่น ทฤษฎีสื่อ และนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย – การทดลองใช้และประเมินคุณภาพของสื่อและของเล่น                 -การใช้สื่อพื้นฐานและสื่อยุคดิจิทัล -การรู้เท่าทันสื่อและความฉลาดทางดิจิทัล – การสร้างวินัยเชิงบวกให้เด็ก การสร้างความเข้มแข็งทางอารมณ์และจิตใจให้กับเด็ก -กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว– วิเคราะห์ เลือกสื่อ ของเล่น และทรัพยากรการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก – ประยุกต์ ออกแบบ ผลิตสื่อพื้นฐาน สื่อดิจิทัล ของเล่น เพื่อสร้างวินัยเชิงบวกและความฉลาดทางอารมณ์และการเรียนรู้ที่เท่าเทียมได้ – ออกแบบ ผลิตสื่อ เพื่อสร้างวินัยเชิงบวกและความฉลาดทางอารมณ์ – นำสื่อ ของเล่นที่ได้ไปทดลองใช้ในโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ หรือ สถานศึกษาด้านการศึกษาปฐมวัยที่เป็นโรงเรียนเครือข่าย – ประเมินผลการนำ นำสื่อ ของเล่นที่ได้ไปทดลองใช้ ในโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ หรือ สถานศึกษาด้านการศึกษาปฐมวัยที่เป็นโรงเรียนเครือข่าย2/64, 2/65
1071308ภาษาพาเพลิน (Language for Play and Learn)  3(3-0-6)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน       SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การพัฒนาทักษะทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาไทยผ่านนิทานวรรณกรรม เพลง
คำคล้องจอง และคำกลอนที่เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย – การเลือก สร้าง ผลิต และการใช้นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย – เทคนิคการเล่านิทาน การใช้นิทานและวรรณกรรมในการปรับพฤติกรรมทางภาษา – การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมทางภาษา – การประเมินความสามารถทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็กตามช่วงวัย – การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชนในการพัฒนาภาษาสำหรับเด็ก
-นักศึกษาศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เรื่องการจัดกิจกรรม และการเลือกใช้สื่อเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย -นักศึกษาออกแบบเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์สื่อการสอนเพื่อพัฒนาภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย – นักศึกษาออกแบบเครื่องมือในการประเมินความสามารถทางภาษาเหมาะสมกับเด็กตามช่วงวัย -นักศึกษาออกแบบและจัดโครงการเพื่อพัฒนาภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย2/65
1551151ทักษะการเรียนภาษาอังกฤษ (English Study Skills)  3(3-0-6)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงานทักษะการเรียนภาษาอังกฤษทักษะการบันทึกการเรียนรู้การอ่านเชิงวิชาการ การสรุปข้อมูล ทักษะการเขียนถอดความ การเขียนรายงานและการเขียนอ้างอิง  การจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบโดยเน้นการเรียนรู้ด้วยการฝึกฝนด้วยตนเอง ฝึกการสืบค้น การอ่าน การเขียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล (Technological Pedagogical Content Knowledge: TPACK) การใช้สื่อเทคโนโลยี และแอพพลิเคชั่น ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน ให้เกิดทั้งความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ฝึกทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ สืบเสาะหาความรู้ตามความถนัดและความสนใจ และส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างความรู้เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน   2/65
1071310ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาวิชาชีพ (English for Professional Development)3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ การสนทนาในสถานการณ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับความสนใจ งานอดิเรก ประสบการณ์ส่วนตัว การใช้สำนวนภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเรื่องเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย การเขียนจดหมายอิเลคทรอนิค การพูดนำเสนองาน การใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ1. นักศึกษาและผู้สอนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นความหมาย/ความสำคัญของ การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน 2. การสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือและหลากหลาย 3. ผู้เรียนในห้องร่วมกันประเมินการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม พร้อมกับข้อเสนอแนะ 4. ให้ผู้เรียนบันทึกการเรียนรู้และคำศัพท์ไว้ใน Log Book ทบทวนโดยการตอบคำถามท้ายบทเรียน2/64 2/65
1072603  การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน           SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคง ตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– พัฒนาการของเด็กแต่ละ           ช่วงวัย – การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการประเมินพัฒนาการเด็ก – การเขียนรายงานและนำเสนอผลการประเมินพัฒนาการให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง     – เทคนิควิธีการประเมินพัฒนาการแนวใหม่ – การสร้างเครื่องมือในการประเมินพัฒนาการทุกด้านในชั้นเรียน  – ศึกษา ค้นคว้าพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย – แลกเลี่ยนเรียนรู้การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการประเมินพัฒนาการเด็ก – ศึกษา ค้นคว้าการเขียนรายงานและนำเสนอผลการประเมินพัฒนาการให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง – ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ เทคนิควิธีการประเมินพัฒนาการแนวใหม่ – ฝีกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือในการประเมินพัฒนาการทุกด้านในชั้นเรียน2/65
1072314โภชนาการและความปลอดภัยสำหรับเด็กปฐมวัย  Nutrition and Safety for Young Children2(2-0-4)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน                 SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย – โรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย – โรคกับเด็กปฐมวัย การป้องกันรักษา – การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล – วัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย   – ความปลอดภัยในการเลือกภาชนะในการปรุงและการเตรียมอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย – อาหารหลัก อาหารว่าง อาหารหวานสำหรับเด็กปฐมวัย    -ให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย โรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย โรคกับเด็กปฐมวัย การป้องกันรักษา การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล และวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย   -ให้นักศึกษาวางแผนการเลือกภาชนะในการปรุงและการเตรียมอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย ออกแบบสำหรับอาหาร ประกอบด้วยอาหารหลัก อาหารว่าง อาหารหวานพร้อมลงมือปฏิบัติ และทำกิจกรรม“ส่งเสริมโภชนาการ และความปลอดภัย สำหรับเด็กปฐมวัย” โรงเรียนเครือข่ายที่นักศึกษาสนใจ  2/64
1072315คหกรรมศาสตร์สำหรับครูปฐมวัย Home Economics for Preschool Teacher2(2-0-4)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน           SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การจัดอุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร – การดูแลซ่อมแซมเสื้อผ้า – การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน – การดูแลรักษาและซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้านและชั้นเรียน   – การวางแผนการใช้เวลาการทำงานบ้านงานเรือนของครูปฐมวัย – ออกแบบการจัดตกแต่งเมนูอาหารสำหรับเด็ก – การประดิษฐ์สื่ออุปกรณ์จากกระดาษ ผ้า และวัสดุอื่น ๆ – การเย็บพื้นฐาน  -ให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดอุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร การดูแลซ่อมแซมเสื้อผ้า การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน และการดูแลรักษาและซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้านและชั้นเรียน   -ให้นักศึกษาวางแผนการใช้เวลาทำงานบ้านงานเรือนของครูปฐมวัย ออกแบบและลงมือปฏิบัติจัดตกแต่งเมนูอาหารสำหรับเด็ก ประดิษฐ์สื่อเพื่อใช้สอนและตกแต่งชั้นเรียนจากกระดาษ ผ้า และวัสดุอื่น ๆ ฝึกการเย็บพื้นฐาน และจัดโครงการเสริมสร้างคหกรรมสำหรับครูปฐมวัยเพื่อส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัยกับโรงเรียนเครือข่ายที่นักศึกษาสนใจ2/65
1553408การพูดภาษาอังกฤษในยุคแห่งความหลากหลาย3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)หลักการและวิธีการพูดในที่ชุมชน การวางแผนและการจัดระเบียบวาระการพูด การพูดแบบไม่ได้เตรียมการมาก่อน การพูดเพื่อให้ข้อมูล การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ การพูดในโอกาสพิเศษหรือโอกาสเฉพาะนักศึกษาเรียนรู้หลักการและวิธีการพูดที่แบบที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน ผ่านการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning)การบรรยายหลักการพร้อมยกตัวอย่างประกอบ และการฝึกปฏิบัติวิธีการพูดแบบต่างๆจากสื่ออนไลน์ นักศึกษาฝึกปฏิบัติการพูดในหัวข้อต่างๆ เช่น การพูดแบบไม่ได้เตรียมการมาก่อน การพูดเพื่อให้ข้อมูล การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ และการพูดในโอกาสพิเศษหรือโอกาสเฉพาะ2/64 1/65 2/65
1073321ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับวิชาชีพ (English for Professional Enhancement)3(3-0-6)SDG 4  การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   SDG 8  การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ การอ่านบทความวิชาการและบทความวิจัยภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางการศึกษาปฐมวัยที่ตนเองสนใจ การนำเสนอข้อมูลในสถานการณ์ที่เป็นทางการ การเขียนจดหมายอิเลคทรอนิคและการเขียนจดหมายแบบเป็นทางการอื่น ๆ ตามรูปแบบมาตรฐานการเขียนอ้างอิงตามหลักสากลการ และจัดโครงการเพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษ-ผู้เรียนจับคู่ และสนทนาภาษาอังกฤษตามหัวข้อที่จับฉลากได้ เช่น ความสนใจ งานอดิเรก ประสบการณ์ส่วนตัว -การจัดสถานการณ์ตัวอย่างมาให้ให้ผู้เรียนจำลองสถานการณ์แต่งประโยคเพื่อพูดในสถานการณ์นั้น ๆ -ผู้สอนคัดเลือกบทความสั้น ๆ เพื่ออ่าน และแปลความ-ผู้สอนคัดเลือกจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะภาษา และรูปแบบการนำเสนอเนื้อหา -การใช้เกม Kahoot คำศัพท์ที่พบได้บ่อยในข้อสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ1/65 2/65
1073406การสอนแบบมอนเตสซอรี่ Montessori Education3(2-2-5)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน                 SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– ความเป็นมา แนวคิดและหลักการสอนแบบมอนเตสซอรี่   – ความหมายของคำศัพท์ที่สำคัญเกี่ยวกับการศึกษาแบบมอนเตสซอรี่ – หลักสูตรและการสอนแบบมอนเตสซอรี่     – การจัดการชั้นเรียนแบบมอนเตสซอรี่ – การจัดการเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ – การสังเกตและบันทึกการทำงาน ของเด็ก – การประเมินผลตามกลุ่มวิชาการที่ได้กำหนดในหลักสูตร – ขั้นตอนการทำงานกับอุปกรณ์ มอนเตสซอรี่ – บทบาทของครู เด็ก และผู้ปกครองในสภาพแวดล้อมของมอนเตสซอรี่ – การนำเสนอขั้นตอนการทำงานกับเด็ก                – ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวข้องกับความเป็นมา แนวคิดและหลักการสอนแบบมอนเตสซอรี่ – ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของคำศัพท์ที่สำคัญ และแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมตามฐานคำศัพท์   – ชมวิดิทัศน์ ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนแบบมอนเตสซอรี่   – ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการชั้นเรียน – ฝึกปฏิบัติการจัดห้องเรียนมอนเตสซอรี่จำลอง ฝึกการเตรียมจัดหาสื่อมอนเตสซอรี่ และฝึกเขียนคู่มือการสอนแบบมอนเตสซอรี่ – ฝึกปฏิบัติการออกแบบสังเกตและแบบบันทึกการทำงานของเด็ก – จัดฐานกรณีศึกษาเรื่องการประเมินผลเด็กแบบมอนเตสซอรี่ .แบ่งกลุ่มให้สืบค้นตามฐาน – ชมวิดิทัศน์และแบ่งกลุ่มสืบค้นการทำงานกับอุปกรณ์ต่างๆของมอนเตสซอรี่ – ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของครู เด็ก และผู้ปกครองในสภาพแวดล้อมของมอนเตสซอรี่ – ฝึกปฏิบัติการนำเสนอขั้นตอนการทำงานกับเด็ก จัดทำคลิปวิดิโอการปฏิบัติการนำเสนอขั้นตอนการทำงานกับเด็ก และการทดลองฝึกปฏิบัติการสอนมอนเตสซอรี่ที่ห้องเรียนมอนเตส  ซอรี่ รร.สาธิตละอออุทิศระดับปฐมวัย2/64 , 2/65
1073704การเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษาปฐมวัย3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การจัดทำแผนธุรกิจอย่างง่าย – หลักการบริหารงานคุณภาพ – การเป็นผู้ประกอบการ – การลงทุน การวางแผนและการจัดการทางการเงินโดยใช้เทคโนโลยีทางการเงิน – รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาปฐมวัยทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ – เจตคติที่ดีต่อการเป็นผู้ประกอบการ – การวางแผนและพัฒนากำลังคน – การจัดการศึกษาปฐมวัยที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม – การคำนวณหาอัตราผลตอบแทนของการศึกษา ผลตอบแทนในทางสังคม                – การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดทำโครงการด้านการศึกษาปฐมวัย – สืบค้นข้อมูล/ วิเคราะห์ เกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญ  ความคิดแบบผู้ประกอบการ และ การจัดการศึกษาปฐมวัยที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม – ศึกษาและวิพากย์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการเงินและเทคโนโลยีทางการเงิน – สัมภาษณ์ ผู้ประกอบการธุรกิจ ผู้บริหารสถานศึกษาปฐมวัย และ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย – เขียนแผนจำลอง โดยใช้ Business Model Canvas และ ใช้เครื่องมือทางการตลาดวางแผนและออกแบบการทำ หลักสูตรระยะสั้น และนำไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย หรือ สถานศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย2/64, 2/65
1072320          การสอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย (Teaching English for Young Children)3(3-0-6)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – ธรรมชาติการเรียนรู้ และลำดับขั้นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ – กลวิธี แนวการสอนและวิธีการสอนภาษาอังกฤษรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย – การศึกษางานวิจัยเพื่อวิเคราะห์   และอภิปรายข้อดีและข้อจำกัดของวิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบต่าง ๆ – การประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เหมาะสมกับเด็กตามช่วงวัย  -นักศึกษาศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เรื่อง  การสอนการจัดกิจกรรม และการเลือกใช้สื่อเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย -นักศึกษาออกแบบเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์สื่อการสอนเพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – นักศึกษาออกแบบเครื่องมือในการประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เหมาะสมกับเด็กตามช่วงวัย -นักศึกษาออกแบบและจัดโครงการเพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย2/65
1073320ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนปฐมวัย English in Early Childhood Class  3(2-2-5)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การออกแบบกิจกรรม การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ การพัฒนาสื่อการสอน การจัดสภาพแวดล้อมและการสร้างบรรยากาศ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณ์ – การประเมินการจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย – การใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน คำศัพท์และประโยคที่ใช้ในชั้นเรียนปฐมวัย  – นักศึกษาศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เรื่องภาษาอังกฤษในชั้นเรียนปฐมวัย – นักศึกษาออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – นักศึกษาผลิตสื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – นักศึกษาเขียนแผนการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย – นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณ์ ณ โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ – นักศึกษาประเมินการจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย1/64 , 2/65
/1073211หลักสูตรภาษาอังกฤษระยะสั้นสำหรับเด็ก3(3-0-6)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสืบค้นข้อมูลและจัดทำหลักสูตรระยะสั้น     – การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นเพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย – การนำหลักสูตรระยะสั้นที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้จริงกับเด็กปฐมวัย – ประเมินหลักสูตรระยะสั้นทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร   – ฝึกปฏิบัติการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสืบค้นข้อมูลและจัดทำหลักสูตรระยะสั้น     – ฝีกออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นเพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย – นำหลักสูตรระยะสั้นที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้จริงกับเด็กปฐมวัย – ประเมินหลักสูตรระยะสั้นทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร2/65
/1074908         นวนิพนธ์ Individual Innovation  2(0-6-0)  SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– งานวิจัยในประเด็นที่สนใจ – การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยบนฐานของความสนใจ – กระบวนการทางการวิจัย – การนำเสนองานนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย– นักศึกษาดำเนินการศึกษางานวิจัยในประเด็นที่สนใจ – นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย – นักศึกษาสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยบนฐานของความสนใจ  – นักศึกษานำเสนอข้อค้นพบที่ได้จากการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา – นักศึกษาดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยกระบวนการทางการวิจัย – นักศึกษานำเสนองานนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยที่ตนเองผลิตขึ้น  2/65
1015802การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 Internship-Externship 16 (0-270-0)SDG 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน       SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน– การวัดและประเมินผล และนำผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ – การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือแบ่งปันความรู้ในการสัมมนาการศึกษา   – การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาและปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย – จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง – การผลิต การเลือกใช้สื่อ และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ – การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน– บันทึก สรุปผลการจัดประสบการณ์ – ประชุมสัมมนาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด       – ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเนื้อหา วางแผน และปฏิบัติการสอนในกิจกรรมและระดับชั้นที่ได้รับมอบหมาย – ปฏิบัติงานอื่น ๆ ในหน้าที่ครูตามที่ได้รับมอบหมาย – จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ – ผลิต และจัดเตรียมสื่อการจัดประสบการณ์ – จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน1/65
1015803การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 Internship-Externship 26 (0-270-0)            SDG 4  
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน
– การวัดและประเมินผล และนำผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ – การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือแบ่งปันความรู้ในการสัมมนาการศึกษา   – การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาและปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย – จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง – การผลิต การเลือกใช้สื่อ และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ – การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน– บันทึก สรุปผลการจัดประสบการณ์ – ประชุมสัมมนาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด         – ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเนื้อหา วางแผน และปฏิบัติการสอนในกิจกรรมและระดับชั้นที่ได้รับมอบหมาย – ปฏิบัติงานอื่น ๆ ในหน้าที่ครูตามที่ได้รับมอบหมาย – จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ – ผลิต และจัดเตรียมสื่อการจัดประสบการณ์ – จัดทำรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน2/65
1013803การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 School Internship 16(270) SDG 3 การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)   SDG 8 การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)   SDG10 :การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities)จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน รวมถึงการดูแล ช่วยเหลือ   การวางแผนและการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกรรม จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน   พัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบการบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียนด้านสุขภาพ และสุขภาวะเพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน   การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูก่อนปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การเรียนรู้จากการทำงานฐาน (Work-Based Learning) โดยเป็นการผสมผสานระหวางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ  เขาดวยกัน ให้ลงมือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ ใช้สถานการณ์จริงและปัญหาที่หลากหลาย   ฝึกการใช้ภาษาพูด ภาษาเขียนและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีการให้ข้อมูลป้อนกลับและการให้ความช่วยเหลือผู้เรียน1/65
1014805การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 School Internship 2  6(270) SDG 3  การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being)   SDG 9 การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)  มีความเป็นนวัตกรรมจัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน   วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้ทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนการบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียนด้านสุขภาพ และสุขภาวะเพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทำวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชนและสังคม2/65

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาล่ามภาษามือ

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)ประเด็นของ SDG ที่เกี่ยวข้องกับ รายวิชา (ใส่เป็นหมายเลข)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
1085103ภาษามือไทยเพื่อการสื่อสาร  (Thai Sign Language for Communication)3(2-2-8)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)ศึกษาเรื่องที่มาของภาษามือ โครงสร้างภาษามือ และการใช้ภาษามือในหลากหลายมิติ ทั้งภาษามือไทยที่ใช้ในแต่ละชุมชน และภาษามือไทยที่ใช้อย่างเป็นทางการกับภาษามือท้องถิ่นที่นักศึกษามีประสบการณ์  ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าที่มาของคำศัพท์ภาษามือ การใช้ท่าภาษามือ ฝึกปฏิบัติใช้ภาษามือไทยเกี่ยวกับคำศัพท์ และบอกได้ว่าที่มาของภาษามือไทยนั้นมาจากไหน ฝึกปรับเปลี่ยนเป็นภาษามือที่ใช้ในแต่ละชุมชนอย่างไร ล่ามภาษามือไทยคิดคำศัพท์ใหม่ ๆ ประกอบด้วยท่ามือเป็นแบบใด2/64,1/65
   SDG 8: การสร้างนักศึกษาให้มี ทักษะในการทำงานและมีความ มั่นคงตรงตามความต้องการของ ผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)การบูรณาการสืบค้นข้อมูล ทั้งทางอินเตอร์เน็ตการศึกษาสังเกต  การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ในเรื่อง ประวัติความเป็นมาของภาษามือทั้งภาษามือไทยและ ภาษามืออเมริกัน ศึกษาวัฒนธรรมคนหูหนวกการใช้ภาษามือของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นหรือในบริบทของคนหูหนวก ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทั้งทางเทคโนโลยี ให้ศึกษาวัฒนธรรมของคนหูหนวกตามบริบทของคนหูหนวกในประเทศไทย การนำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น2/64,1/65
   SDG10: การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities)สร้างความตระหนักในการให้บริการล่ามภาษามือของนักศึกษา โดยได้เรียนร่วมกับคนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้แก่คนหูตึง และนักศึกษาทำงานกับผู้ด้อยโอกาสคือคนหูหนวก ซึ่ง การเป็นล่ามภาษามือจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในด้านการติดต่อสื่อสารของคนหูหนวก การเข้าใจและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเหมือนคนทั่วไป โดยใช้บริการล่ามภาษามือการให้บริการล่ามภาษามือสำหรับนักศึกษาที่เป็นคนหูหนวก ซึ่งจะต้องคำนึงถึงการทำความเข้าใจในคำศัพท์ก่อนการให้บริการล่ามภาษามือ การใช้คำศัพท์หรือท่ามือที่ทำให้คนหูหนวกเข้าใจ และพยายามปรับท่ามือให้คนหูหนวกได้   
   SDG 16: การสนับสนุนเสรีภาพทางวิชาการและการเข้าร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับท้องถิ่น (Peace, Justice and Strong Institutions)-ทำการศึกษาล่ามภาษามือไทย โดยการศึกษาการใช้ภาษามือของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่น  -การสอดแทรกเนื้อหาและการฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้ภาษามือ ซึ่งคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นใช้ไม่เหมือนกัน เช่น คำศัพท์ภาษามือเกี่ยวกับชื่อผลไม้ ชื่ออาหาร ชื่อสัตว์ ที่ใช้ท่ามือไม่เหมือนกัน -แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ภาษามือของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นและ-นำเสนอกรณีศึกษาที่ใช้ภาษามือเกี่ยวกับคำศัพท์ที่แตกต่างกัน 
1085215ภาษามือไทยสำหรับการล่าม (Thai Sign Language for Interpretation) 3(2-2-8)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)   SDG10: การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities)  -ศึกษาโครงสร้างภาษามือ และการใช้ภาษามือไทย  จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพเลือกข้อมูล วิชาการที่น่าเชื่อถือ รู้เท่าทันข้อมูลในโลกออนไลน์   กิจกรรมส่งเสริมความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ที่นักศึกษาร่วมงาน ตระหนักถึงการทำงานร่วมกันโดยยึดความต้องการของผู้รับบริการเป็นหลัก คือการให้เกียรติ และเคารพในศรีศรีของผู้รับบริการ(คนหูหนวก)  2/64, 2/65
1085216การล่าม ทฤษฎีการแปล และจรรยาบรรณล่าม(Interpretation, Translation Theories and Code of Ethics for Interpreters)3(2-2-8)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) SDG 16 : การสนับสนุนเสรีภาพทางวิชาการและการเข้าร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับท้องถิ่น (Peace, Justice and Strong Institutions)   ฝึกฝนทักษะการใช้ภาษามือของนักศึกษา ให้เกิดความชำนาญ ในการแปลภาษามือ ทั้งใหรูปแบบการแปลจากเสียงเป็นภาษามือและ แปลจากภาษามือเป็นเสียงพูด   ตระหนักให้นักศึกษาปฏิบัติตามจรรยาบรรณล่ามภาษามือ ในการให้บริการแปลภาษามือ โดยคำนึงถึงความแตกต่างในการใช้ภาษามือของท้องถิ่น ทั้งนี้ล่ามภาษามือจำเป็นต้องเข้าใจผู้ใช้บริการแปลภาษามือในท้องถิ่นของตน และสามารถปรับเปลี่ยนภาษามือให้สอดคล้องกับความเข้าใจของผู้รับสารได้อย่างหลากหลาย  2/64
1085502เทคโนโลยี สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย  (Assistive Technology, Media and Facilities for Persons with Hearing Impairment or Communication Disorders)3(2-2-8)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)         SDG 8: การสร้างนักศึกษาให้มี ทักษะในการทำงานและมีความ มั่นคงตรงตามความต้องการของ ผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)     SDG10: การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities)สร้างความตระหนักรู้และให้ความสำคัญในการมีส่วนร่วม โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเท่าเทียม โดยรู้จักการทำงานของ Open Captions & Closed Caption   ใช้กรณีศึกษา พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
การปฏิบัติงานจริง (Active Learning) ของสถานประกอบการ – วิเคราะห์และประยุกต์ใช้หลักการ กับกรณีศึกษา (Technology–based Learning) – สถานการณ์จำลอง การฏิบัติงาน กับ
ผู้รับบริการ ประยุกต์ใช้หลักการ กับกรณีศึกษา (Technology–based Learning) – สถานการณณ์จำลอง การปฏิบัติงานกับผู้รับบริการ
ฝึกปฏิบัติการ โดยแนะนำวิธีการดาวน์โหลด โปรแกรม Aegisub เพื่อทำกิจกรรมการ จัดทำคำบรรยายแทนเสียง และฝึกปฏิบัติการจัดทำ Subtitle พร้อมทั้งแนะนำโปรแกรม StaxRip   -เชิญกลุ่มผู้จ้างงานในระบบบริหารและสายปฏิบัติงานมาให้แนวทาง และเสริมทักษะให้ตรงกับความต้องการของผู้จ้างงานเช่น ทักษะของล่ามTTRS – ลักษณะงานของศูนย์ TTRS – การบริการของศูนย์ TTRS    2/64
1085220ล่ามภาษามือทางการศึกษา (Educational Sign Language Interpreter)3(2-2-8)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในประเทศไทยในปัจจุบัน   ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา -นักศึกษาแสดงความคิดเห็น“ความสำคัญของล่ามภาษามือ ทางการศึกษา”เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด ผู้สอนร่วมกันสรุปกับนักศึกษา -จัดกิจกรรมกลุ่ม “คำศัพท์ภาษามือที่ใช้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ” นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์ค้นหาคำศัพท์ภาษามือที่สำคัญ นำเสนอภาพรวมของคำศัพท์ของแต่ละกลุ่ม ผู้สอนให้คำแนะนำแนวคิดการทำคำศัพท์ภาษามือ2/64
1085217ล่ามภาษามือทางการแพทย์และการสาธารณสุข (Sign Language Interpreter in Medical and Public Health)  3(2-2-8)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) SDG10: การสนับสนุนดูแลนักศึกษาและเจ้าหน้าที่จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ (Reduced Inequalities) SDG 16 : การสนับสนุนเสรีภาพทางวิชาการและการเข้าร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับท้องถิ่น (Peace, Justice and Strong Institutions)– บทบาทหน้าที่ของล่ามเฉพาะทาง -ระบบทางการแพทย์และการสาธารณสุขเบื้องต้น – ทักษะและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง มนุษยสัมพันธ์ เจตคติในการเป็นผู้ให้บริการ – จรรยาบรรณ และบริการที่ล่ามทางการแพทย์และการสาธารณสุขพึงทราบและถือปฏิบัติ – การฝึกทักษะการล่ามและการถ่ายทอดข้อมูล    – เรียนรู้คำศัพท์ภาษามือด้านการแพทย์และสาธารณสุข – ถอดบทเรียนสถานการณ์การปฎิบัติหน้าที่ล่ามทางการแพทย์ฯ กรณีศึกษา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) – ฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือในการพบแพทย์ในหัวข้อโรค เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือด ทำฟัน ไส้ติ่งอักเสบ กรดไหลย้อน มะเร็งปอด เป็นต้น – เรียนรู้ความคาดหวังของคนหูหนวกต่อล่ามภาษามือทางการแพทย์และสาธารณสุข1/65
1085906สัมมนาล่ามภาษามือ (Seminars in Sign Language Interpretation3(2-2-8)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)จัดกิจกรรมการสัมมนาเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เพิ่มเติม เพื่อนำความรู้และแนวทางการปฏิบัติอันจะนำไปสู่การเป็นล่ามภาษามือที่มีคุณภาพ  ออกแบบให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาที่ต้องการได้รับความรู้เพิ่มเติม โดยนำเสนอชื่อเรื่องที่ต้องการนำเสนอชื่อวิทยากรที่ต้องการ นำเสนอรูปแบบการจัดสัมมนา เช่น การจัดแบบออนไลน์ ออนไซต์ การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เป็นต้น นักศึกษา ได้ทำงานกลุ่มและออกแบบการสัมมนา การจัดสัมมนาของนักศึกษาเพื่อให้มีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อการจัดสัมมนา และให้นำไปปรับใช้กับการทำงานได้อย่างยั่งยืน1/65, 2/65
   SDG 16: การสนับสนุนเสรีภาพทางวิชาการและการเข้าร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับท้องถิ่น (Peace, Justice and Strong Institutions)จัดสัมมนา โดยให้อิสระในการคิดและตัดสินใจในการเลือกหัวข้อ และการเลือกวิทยากร ซึ่งจะเป็นผู้ที่นักศึกษาร่วมกันคิดว่าเหมาะสมกับเนื้อหา สาระที่ต้องการจัดสัมมนาจัดให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และให้ร่วมกันตัดสินใจ โดยนักศึกษาเชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระที่ต้องการ และนักศึกษามีประสบการณ์ในการทำงานกับคนหูหนวกในท้องถิ่นให้เรียนรู้การศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมแล้วจัดทำรูปเล่มสรุปเป็นองค์ความรู้ประกอบการจัดสัมมนาแต่ละหัวข้อ 
1085802การฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือ 3(135)SDG 4: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการศึกษาที่ยั่งยืน (Quality Education)จัดทำกำหนดการฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือจัดปฐมนิเทศก่อนออกฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือ จัดให้มีการสัมมนาระหว่างฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือ เชิญอาจารย์พี่เลี้ยงร่วมในการแลกเปลี่ยนแนวทางการส่งเสริมการฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือของนักศึกษา  ให้นักศึกษาเลือกสถานฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือในสถานที่ที่ตนเองทำงานมี เลือกอาจารย์พี่เลี้ยงที่มีความสะดวกในการให้การนิเทศ เปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถเลือกผู้เป็นอาจารย์นิเทศที่เป็นบุคคลในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับคนหูหนวก เช่น สมาคมคนหูหนวก ชมรมคนหูหนวก เลือกวันรับการนิเทศจากอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงได้เปิดโอกาสให้รับคำปรึกษาและเสนอแนะเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์1/65, 2/65
   SDG 8: การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth)การจัดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติล่ามตามมาตรฐานวิชาชีพล่ามภาษามือ ส่งเสริมให้สอบจดแจ้งเป็นล่ามภาษามือกับกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการออกแบบการฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือ และการประเมินล่ามภาษามือตามเกณฑ์ของมาตรฐานล่ามภาษามือที่กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการกำหนด กำหนดคุณสมบัติอาจารย์พี่เลี้ยงตามที่เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพชั้นสูงกำหนด เช่น มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี หรือมีประสบการณ์เป็นล่ามภาษามือไม่น้อยกว่า 3 ปี มีบัตรประจำตัวล่ามภาษามือ กำหนดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติให้มีการสัมมนาระหว่างฝึกปฏิบัติล่ามภาษามือ และให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ล่ามของแต่ละคน  

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปีการศึกษา 2/64, 3/64, และ 1/65)

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย(ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิตเนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้อกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
60234011.การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing3(3-0-6)หน่วยที่ 3 แนวคิดพื้นฐาน
ในการบำบัดรักษาทางจิตเวช
3.11 การบำบัดด้วยสิ่งแวดล้อม  
เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งที่บ้านและโรงพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย โดยการมอบหมายกรณีศึกษาและสถานการณ์กรณีศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมในโรงพยาบาลโดยการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการกลับไปอยู่ที่บ้าน เตรียมวางแผนจำหน่ายและดูแลต่อเนื่องของกรณีศึกษาที่บ้าน    2/64
60244012.ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing Practicum 3(0-9-0)การบำบัดด้วยสิ่งแวดล้อม  เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งที่บ้านและโรงพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย โดยวิธีการ – สอนหรือแนะนำผู้ดูแลให้จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้ปลอดภัยต่อผู้ป่วย – ดำเนินการจัดกิจกรรมในโรงพยาบาลโดยการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการกลับไปอยู่ที่บ้านของผู้ป่วย – วางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้าน – ติดตามการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชเพื่อดูแลและจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยและเหมาะสม1/65
60731033.วิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน (Community health practicum)4 (0-12-0)การนำเอาความรู้ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อมลงสู่การปฎิบัติ ในการดูแลสุขภาพบุคคล ครอบครัว ชุมชน1.กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน Home visit, Home health care 2. การจัดโครงการในชุมชนต่างๆตามปัญหาที่ได้รับจากการประชาคม โดยประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วม2/2564
60731024. วิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน (Community health nursing)4 (4-0-8)สอนในหัวข้อการอนามัยสิ่งแวดล้อม1.มีการจัดการสอนโดยใช้ Problemed based simulation ให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆของสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ และวิธีการแก้ปัญหา ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยาการต่างๆ1/2565
60215035. การพยาบาลพื้นฐาน3(2-2-5)สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม              การตอบสนองความต้องการ            ขั้นพื้นฐาน ความสะอาด             ความปลอดภัย และการป้องกัน และควบการแพร่กระจายเชื้อ การแยกทิ้งขยะประเภทต่าง ๆ– จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษายกตัวอย่างจากประการณ์จริงเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ ที่มีสาเหตจากสิ่งแวดล้อม นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์สถานการณ์ พร้อมทั้งมอบหมายงานให้นักศึกษาจัดสิ่งแวดล้อมที่พักของตนเอง การดูแลสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยขณะอยู่โรงพยาบาล  การล้างมือ การทิ้งขยะเป็นต้น  2/2564
60225066.ปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน4(0-12-0)ฝึกปฏิบัติทักษะการพยาบาลพื้นฐาน เพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานของบุคคลในภาวะเจ็บป่วยโดยคำนึงถึงสิทธิและความปลอดภัยของผู้ป่วยมอบหมายให้นักศึกษาดูแลผู้ป่วยเป็นรายบุคคล โดยประเมินปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยครอบคลุมทุกด้านรวมถึงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพ วางแผนการพยาบาล ตลอดจนให้คำแนะนำในการปฏิติตนเมื่อกลับไปอยู่บ้าน1/2565

สรุปตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs ภาคการศึกษา 2/64, 3/64 และ 1/65)

หลักสูตรจำนวนรายวิชาเกี่ยวข้องกับ SDGsหมายเหตุ
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ10  
ภาษาจีนเพื่อการบริการ1 
ภาษาและการสื่อสาร2 
ภาษาอังกฤษ 
รวม13 

ตารางรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs (ปี ค.ศ. 2022 = พ.ศ. 2565 = ปีการศึกษา คือ 2/64, 3/64 และ 1/65)

หลักสูตร จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ

รหัสวิชาชื่อวิชาภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ)หน่วยกิต …. (x-x-x)เนื้อหาสาระที่สอนเกี่ยวข้องกับ SDGsกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ SDGsเปิดสอนภาคเรียน/ปีการศึกษา
2511707ภาษาอังกฤษสำหรับนักจิตวิทยา English for Psychologist3 (3-0-6)ไม่มีไม่มี2/64
2513728การทดสอบทางจิตวิทยาในองค์การ Psychological Testing in Organization3 (2-2-5)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : การนำเทคนิคทางจิตวิทยาการทดสอบ การสรรหาบุคลากร การตัดเลือกบุคลากรเพื่อบรรจุบุคคลเข้าทำงาน การเลื่อนตำแหน่งด้วยการใช้วิธีสัมภาษณ์ด้วยคำถามทางจิตวิทยารวมทั้งฝึกการสร้างหรือปรับปรุงเครื่องมือทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับงานด้านทรัพยากรมนุษย์กิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. การลงมือปฏิบัติในการสร้าง ปรับปรุงและทดลองใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยา 2. การใช้กรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการวัดและการทดสอบในองค์การ 3. การฝึกสร้างแบบวัดหรือแบบทดสอบทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การตามที่สนใจ      2/64
2513729การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Application of Psychology for Human Resource         Development3 (2-2-5)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง :   การประยุกต์ใช้ทฤษฎี หลักการ ทักษะทางจิตวิทยาโดยนำเทคนิคและทักษะทางจิตวิทยามาประยุกต์ รวมทั้งฝึกปฏิบัติการจัดฝึกอบรมในสถานการณ์จริง  กิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. การใช้กรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ หรือเนื้อหาต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ในแผนการสอน 2. การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) โดยการฝึกทักษะการแสดงออกตามบทบาทที่กำหนด เช่น การเป็นพิธีกร การเป็นวิทยากร การเป็นผู้นำเกมการฝึกอบรม หรือ การเป็นผู้ดำเนินการโครงการฝึกอบรมสัมมนา 3. การเรียนรู้โดยการจัดทำเป็นโครงการ (Project-Based Learning) โดยให้นักศึกษาร่วมกันคิดและดำเนินการจัดทำโครงการฝึกอบรม และจัดทำเป็นรายงานตามโครงการ2/64
2513725จิตวิทยาบุคลากร Personnel Psychology3 (2-2-5)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง :   การประยุกต์ทฤษฎี หลักการ  ทักษะและเทคนิคทางจิตวิทยา มาใช้ในกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในหลากหลายสาขาอาชีพกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. การนำเสนองานตามประเด็นที่มอบหมายหรือการแสดงความคิด และรายงานผลการฝึกในสถานการณ์จำลอง ในรูปแบบรายงาน 2. การประยุกต์ความรู้ การคิด วิเคราะห์และการสังเคราะห์สาระความรู้ที่เรียนไปสู่สถานการณ์จริง 3. การนำแบบทดสอบทางจิตวิทยาในการคัดเลือกและประเมินผลการปฏิบัติงานมาใช้ในสถานการณ์จำลอง1/65
2513725กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานสำหรับนักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การLabor Law for Industrial and organizational Psychologist3 (3-0-6)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับงานของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ แรงงานสัมพันธ์ คุ้มครองแรงงาน ประกันสังคม เงินทดแทน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน การจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ โดยเน้นวิธีการแก้ปัญหาด้านอุตสาหกรรมสัมพันธ์ รวมทั้งความรู้ที่ทันสมัยทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับแรงงานกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. ค้นคว้า และการนำเสนองานตามประเด็นที่มอบหมายหรือการแสดงความคิด และรายงานผลการระดมสมองในกรณีศึกษา 2. ฝึกปฏิบัติการตามบทบาทสมมติในกรณีที่ต้องมีการร่วมเจรจา (Collective Bargaining) 3. ระดมสมองในการแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายแรงงานที่น่าสนใจ      1/65
2514707การพัฒนาองค์การเบื้องต้นIntroduction to Organization Development3 (2-2-5)SDG 8 : การสร้างนักศึกษาให้มีทักษะในการทำงานและมีความมั่นคงตรงตามความต้องการของผู้จ้างงาน (Decent Work and Economic Growth) เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : การวิเคราะห์ปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงขององค์การที่จะส่งผลต่อโครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ การใช้กลยุทธ์และพาหะวิธีต่าง ๆ ในการพัฒนาองค์การทั้งองค์การภาคการผลิต การจัดจำหน่าย และการบริการ ปัจจัยทางสังคมและองค์การกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. มอบหมายหรือการแสดงความคิด และรายงานผลการฝึกในสถานการณ์จำลอง ในรูปแบบรายงาน 2. การนำแบบวัดทางจิตวิทยาในการหาความจำเป็นในการพัฒนาองค์การจากสถานการณ์จำลอง 3. การประยุกต์ความรู้ การคิด วิเคราะห์  และการสังเคราะห์สาระความรู้ที่เรียนไปสู่สถานการณ์จริง1/65
2514905การค้นคว้าอิสระสําหรับนักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ3 (2-2-5)SDG 9: การสร้างผลงานวิจัยด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และอุตสาหกรรมพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)กิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1. การสำรวจความต้องการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ 2. การจัดทำวิจัยทางจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองค์การ โดยการขออนุญาตจากหน่วยงาน1/65
2513603การประยุกต์การให้คำปรึกษาในองค์การ Applications of Counseling in Organization3(2-2-5)SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) เป้าหมายย่อย 3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี พ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 3.4.2 อัตราการฆ่าตัวตายเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : หลักการและวิธีการให้คำปรึกษาเพื่อให้บริการแก่บุคลากรในองค์การ  โดยการประยุกต์เทคนิคการให้คำปรึกษาไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ของบุคคลในองค์การ 
และฝึกทักษะในการให้คำปรึกษาแบบรายบุคคลและแบบกลุ่มโดยพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลในองค์การและการให้ความช่วยเหลือแก่บุคคล ในการส่งเสริมการมีสุขภาวะทางจิต
กิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1.  การฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาทั้งในสถานการณ์สมมติและสถานการณ์จริง  การลงมือปฏิบัติ เพื่อฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการเปิดโอกาสได้ทำงานร่วมกันของนักศึกษา ตลอดจนการใช้ทักษะการให้คำปรึกษากับผู้ขอรับคำปรึกษาได้อย่างเหมาะสม       2.  การแสดงบทบาทสมมติ (Role-Playing) เพื่อเป็นการให้นักศึกษาได้เรียนรู้ในประเด็นที่ได้ผู้สอนมอบหมายและมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 3.  การฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาสำหรับคนพยายามฆ่าตัวตาย เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการให้คำปรึกษา โดยมีความตระหนักถึงความสำคัญ มีความเข้าใจและสามารถสังเกตสัญญาณเตือน (Warning Signs) อันเป็นแนวทางในการลดอัตราการฆ่าตัวตาย 2/64
2512232สุขภาพจิตในการทำงาน Mental Health at Work3(2-2-5)SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) เป้าหมายย่อย 3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี พ.ศ. 2573 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : ความสำคัญของสุขภาพจิตในการทำงานปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของบุคลากรในองค์กร ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต ประเภทของความผิดปกติทางจิต พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อความเจ็บป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ การปรับตัวและการสร้างความสุข ปัญหาด้านสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน ความเครียดและการจัดการความเครียดในการทำงาน การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพจิตในการทำงาน การส่งเสริมสุขภาพจิตในองค์การ รวมทั้งการประยุกต์ทฤษฎีทางจิตวิทยาเพื่อบริหารความเครียดและผ่อนคลายความเครียดในรูปแบบกิจกรรมกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน : 1.  กิจกรรมแบบวัด EQ   2.  กิจกรรมแบบประเมิน Multiple Intelligences 3.  การสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) โดยการจับคู่กันฝึกการสะท้อน (Reflection) พฤติกรรม กลไกป้องกันตัวเอง 4.  การวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง (Cases Study)  วิเคราะห์ในหัวข้อ  ปัญหาด้านสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน 5.  การลงมือปฏิบัติ (Practice) ในหัวข้อ “จัดการความเครียดอย่างไร”  1/65
2512720ความผาสุกในชีวิตและการทำงาน (Life and Work Well-being)3 (2-2-5)SDG 3: การบริการด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาวะที่ดีให้แก่นักศึกษารวมถึงชุมชนท้องถิ่น (Good Health and Well-being) ความสำคัญของความผาสุกในชีวิตและการทำงาน แนวคิดและหลักการทางจิตวิทยาในการเสริมสร้างสุขภาพทางร่างกายและทางจิตใจ คุณภาพชีวิตในการทำงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการส่งเสริมการมีความผาสุกในการดำเนินชีวิตและในการทำงาน1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาเรียนรู้ ทำกิจกรรมเพื่อฝึกฝนการทำความเข้าใจ การวิเคราะห์ตนเองเกี่ยวกับความผาสุกในชีวิตและการทำงาน 2. การเรียนรู้จากกรณีศึกษา 3. การทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างความผาสุกในชีวิตและการทำงานในสถานการณ์จำลอง 4. การมอบหมายกิจกรรมจิตอาสาเพื่อเสริมสร้างความสุขให้กับสังคม2/64