เป้าหมาย-1 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

1

ความยากจนต้องหมดไป

ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่.

No.IndicatorResult
1.2Proportion of students receiving financial aid to attend university because of poverty 
1.2.1Low income students receiving financial aid นักศึกษาทั้งหมด      =  7,914 คน  นำเสนอ
นักศึกษา ปี 2565    =   2,145    คน  

หลักฐาน
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R1/STD202301-02.pdf 

จำนวนหลักสูตรที่จัดการศึกษา 2565 = 52 หลักสูตร 
     – ประกาศนียบัตรบัณฑิต =  2  หลักสูตร 
     – ปริญญาตรี =  46  หลักสูตร 
     – ปริญญาโท =  3  หลักสูตร 
     – ปริญญาเอก = 1 หลักสูตร 

หลักฐาน
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R1/CUR202301-01.pdf 

นักศึกษาได้รับทุนการศึกษา  =  3,255 คน  นำเสนอ
1. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) 1,206 คน 
2. กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)   1,207 คน        
3. กองทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (ทุกชั้นปี)  1,022 คน
FTE จำนวนนักศึกษาทั้งหมดของมหาวิทยาลัยรวมตรี โท เอก ประกาศนียบัตร / จำนวนหลักสูตร ป.ตรี ป.โท ป.เอก ประกาศนียบัตร FTES นักศึกษาทั้งหมด (7,914 คน)   = 7018.222  
จำนวนหลักสูตรที่จัดการศึกษา 2565 = 52 หลักสูตร 

หลักฐาน
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R1/STD202301-26.pdf 
FTE จำนวนนักศึกษาทั้งหมดที่ได้รับความช่วยเหลือ / จำนวนนักศึกษาทั้งหมดของมหาวิทยาลัย นักศึกษาทั้งหมด = 7,914 คน 
FTES นักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษา (3,255 คน) = 3797.50   
 
1.3University anti-poverty programmes 
1.3.1Does your university as a body have targets to admit students who fall into the bottom 20% of household income group (or a more tightly defined target) in the country?มหาวิทยาลัยมีการกำหนดแผนรับในการรับนักศึกษา และกำหนดเป้าหมายในการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินสำหรับนักศึกษา  ในปี 2565
      1. แผนรับนักศึกษาปกติที่ประสงค์จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยให้นักศึกษาทุกคนมีโอกาสเข้าถึงกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ทุกคน โดยมีแผนรับสำหรับนักศึกษาดังกล่าว ปี 2565 จำนวน 2,060 คน
      2. แผนรับทุนเฉพาะปีของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565 จำนวน 1,022 ทุน

ลิงก์เผยแพร่
แผนรับนักศึกษา 2565 นำเสนอ 2 เพิ่มข้อมูลทุนที่ลิงค์แผนรับด้านล่าง (ดำเนินการเรียบร้อย)
ประกาศรับสมัครทุนการศึกษา HOPE SCHOLARSHIP 
ข่าวทุนการศึกษาต่าง ๆ  นำเสนอ 1

comment
มีแผนการให้ทุนอยู่ในแผนรับนักศึกษา
มีแผนรับ =  1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.3.2Bottom financial quintile student success 
Graduation/completion targets for students who fall into the bottom 20% of household income group (or a more tightly defined target) in the country.  
มีการกำหนดเป้าหมายผู้สำเร็จการศึกษาจากจำนวนผู้ได้รับทุนช่วยเหลือ 
จำนวนนักศึกษาสำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี
ปี 2565  จำนวน 1,468 คน
       (หมายเหตุ  นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาปี 2565  จบตามปีหลักสูตร คือ นักศึกษารหัสปีเข้า 2562)
 
จำนวนนักศึกษาที่ได้รับทุนช่วยเหลือ (นักศึกษารหัสปีเข้า 2562) ที่สำเร็จการศึกษา ปี 2565 จำนวน 597 คน ประกอบด้วย
       1. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จำนวน 394 คน  (ตามที่แจ้งความจำนงยื่นขอทุนสนับสนุน)
       2. กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)  จำนวน 65 คน (ตามที่แจ้งความจำนงยื่นขอทุนสนับสนุน)
      3. กองทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (นักศึกษารหัสปีเข้า 2562) จำนวน 113 คน
      4. ทุนนักศึกษาพิการ (นักศึกษารหัสปีเข้า 2562) จำนวน  25 คน


หลักฐาน
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 2565 แยกตามประเภททุน
รายงานจำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต-ประจำเดือนมกราคม-พ.ศ.-2566

https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2023/01/รายงานจำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต-ประจำเดือนมกราคม-พ.ศ.-2566.pdf นำเสนอ 1
https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2023/11/scholarship-uadate-2-11-2566.pdf นำเสนอ 2

Comment :

 —————————————————————————————————

2. มหาวิทยาลัยมีการกำกับคุณภาพการศึกษา โดยมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ในกรอบการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ในตัวชี้วัด 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา มีการกำกับอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา อัตราการสำเร็จการศึกษา และความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา ซึ่งทุกหลักสูตรกำหนดว่านักศึกษาที่อยู่ในระบบสามารถสำเร็จการศึกษาได้ทุกคน ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ระบบ SDU QA (Suan Dusit University Quality Assurance) ปีการศึกษา  2565  หน้า 62

หลักฐาน
https://www.dusit.ac.th/home/wp-content/uploads/2023/02/SDUQA-2565.pdf  
มีการกำหนดเป้าหมาย =  1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.3.3Low-income student support 
Provide support (e.g. food, housing, transportation, legal services) for students from low income families to enable them to complete university. 
การบริการสวัสดิการนักศึกษา 
1. การให้ทุนนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์  
2. ทุนการศึกษา โครงการสวนดุสิตเสริมโอกาส (75 ชั่วโมง)  
3. คณะพยาบาลศาตร์ มีบริการรถตู้รับ-ส่ง นักศึกษาพยาบาลฝึกงาน ณ โรงพยาบาลต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาลเจริญกรุง โรงพยาบาลพุทธมณฑล โรงพยาบาลวชิระ เป็นต้น  
4. วิทยาเขตสุพรรณบุรี มีบริการรถรับ-ส่ง นักศึกษาสาขาวิชาธุรกิจการบิน เพื่อมาเรียนในรายวิชาที่ใช้ห้องปฏิบัติการ ในมหาวิทยาลัยส่วนกลาง (กรุงเทพฯ)  
5. การประกันอุบัติเหตุ  
6. การตรวจสุขภาพ นักศึกษาแรกเข้า  
7. การบริการสุขอนามัย มีห้องปฐมพยาบาลเบื้องต้น  
8. การบริการอาหารกลางวัน สำหรับนักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาภาวะผู้นำทางการศึกษา 

ลิงก์เผยแพร่
ข้อบังคับว่าด้วยการให้ทุนนักศึกษา พ.ศ. 2564 – สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน (dusit.ac.th) 
ทุน 75 ชั่วโมง  นำเสนอ 2
การดูแลแนะแนวช่วยเหลือให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัย 
ทุนการศึกษา HOPE SCHOLARSHIP 
การช่วยเหลืออาหารให้กับบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  (สิงหาคม 2565 – กรกฎาคม 2566) (dusit.ac.th) นำเสนอ 1
จัดบริการฟรี = 1 คะแนน 
จ่ายบางส่วน = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.3.4Bottom financial quintile student support 
Programmes or initiatives to assist students who fall into the bottom 20% of household income group (or a more tightly defined target) in the country to successfully complete their studies. 
 1. การให้ทุนนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การให้ทุนนักศึกษา พ.ศ. 2564

ลิงก์เผยแพร่
ข้อบังคับว่าด้วยการให้ทุนนักศึกษา พ.ศ. 2564 – สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน (dusit.ac.th)
ทุน 75 ชั่วโมง  นำเสนอ
ข่าวทุนการศึกษาต่าง ๆ  นำเสนอ
2. ทุนการศึกษา โครงการสวนดุสิตเสริมโอกาส (75 ชั่วโมง)  
          เปิดโอกาสให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่กำลังศึกษาอยู่ให้มีรายได้โดยต้องทำงานภายในหน่วยงานของมหาวิทยาลัยหรือศูนย์การศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยทางมหาวิทยาลัยให้ค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมงตามหน้าที่ที่รับผิดชอบไม่น้อยกว่า 75 ชั่วโมงต่อเดือน นักศึกษาที่ได้รับทุนจะต้องทำงานในหน่วยงานของมหาวิทยาลัยฯ และศูนย์การศึกษา อย่างน้อยเดือนละ 75 ชั่วโมงและนักศึกษาจะได้รับค่าตอบแทนเป็นรายเดือนๆ ละ 3,000 บาท เป็นเวลา 12 เดือน รวมเป็นเงิน 36,000 บาท/ปี ส่วนการทำงานจะทำในเวลาที่นักศึกษาว่างจากการเรียน ซึ่งจะไม่มีผลกระทบต่อการเรียน ซึ่งในปัจจุบันคือโครงการสวนดุสิตเสริมโอกาส การให้ทุนการศึกษาวิธีนี้จะช่วยฝึกให้นักศึกษารู้คุณค่าของเงินทุนที่ได้รับ มีความผูกพันกับมหาวิทยาลัยฯมากขึ้นและยังมีนิสัย “การให้” ตอบแทนผู้ที่ให้ความช่วยเหลือตนเมื่อมีโอกาส 

ลิงก์เผยแพร่
ทุน 75 ชั่วโมง
ข่าวทุนการศึกษา 
ทุนเอรารัณ  เป็นทุนของกรุงเทพมหานคร 
มีโครงการช่วยเหลือ =  1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.3.5Low or lower-middle income countries student support 
Schemes to support poor students from low or lower-middle income countries (e.g. offering free education, grants).  
การให้ทุนกับนักศึกษาต่างประเทศในประเทศยากจน 

มีโครงการช่วยเหลือ =  1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน
1.  โรงเรียนการเรือนจัดกิจกรรมมอบทุนการศึกษา สำหรับนักศึกษาชาวต่างชาติที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ 
        โดยว่าที่ ร.ต. ดร.ธนพัฒน์ แสงรุ่งเรือง คณบดีโรงเรียนการเรือน เจ้าของทุนการศึกษาได้มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษา ได้แก่ นางสาววิไล บุญชา นักศึกษาสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สัญชาติพม่า และ นางสาววรรณา บุญชา นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ สัญชาติพม่า  ซึ่งเป็นนักศึกษาชาวต่างชาวที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ จำนวน 2 ทุน เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 136,000 บาท   

ลิงก์เผยแพร่
http://food.dusit.ac.th/main/2023/19894 นำเสนอ
  
2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นหน่วยงานที่ได้รับโอกาสในการร่วมดำเนินการโครงการ Education for Children Special Needs Development ภายในความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565)  
โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ    

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1055696.html  นำเสนอ
1.4Community anti-poverty programmes 
1.4.1Local start-up assistance 
Provide assistance in the local community supporting the start-up of financially and socially  sustainable businesses through relevant education or resources (e.g. mentorship programmes, training workshops, access to university facilities). 
1. โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ปี 2565 
     
  • หลักสูตรศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of  Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) ระหว่างเดือนธันวาคม 2565 – เดือนเมษายน 2566 โดยมีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์และฝึกปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบสำหรับประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเพื่อการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว 
 
ลิงก์เผยแพร่
 https://www.dusit.ac.th/home/2023/1062040.html  นำเสนอ
2. โครงการเพิ่มศักยภาพธุรกิจร้านอาหารด้านการถ่ายภาพและสื่อสิ่งพิมพ์ Restaurant Business Development Program Food Photography & Print Design ณ อาคารศูนย์ความเป็นเลิศด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์  
       
การอบรมนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร โดยผู้เข้าอบรมจะได้รับความรู้ความเข้าใจในด้านการจัดตกแต่งอาหาร การถ่ายภาพ และนำภาพถ่ายมาผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยความร่วมมือระหว่างโรงเรียนการเรือนและศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟ ฟิคไซท์ ซึ่งการอบรมครั้งนี้ได้รับเกียรติจากวิทยากร คือ คุณเนตรฤดี วิเชียรเจริญ Food Stylist ที่มีความชำนาญและประสบการณ์ทำงาน มาอย่างยาวนาน คุณทรงวิทย์ พันธุเสวี ช่างภาพที่ผ่านการทำงานในเอเยนซี่ผู้คร่ำหวอดในการถ่ายภาพโฆษณาอาหารและวิทยากร ผศ.ดร.ปฤณัต นัจนฤตย์ อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และอาจารย์ประพันธ์ ประสพวัฒนา รองผู้อำนวยการ ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์    

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/986982.html  นำเสนอ
มีการช่วยเหลือ ฟรี = 1 คะแนน 
ต้องจ่ายเงิน = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.4.2Local start-up financial assistance 
Provide financial assistance to the local community supporting the start-up of financially and socially sustainable businesses. 
มีการให้การช่วยเหลือทางการเงินหรือกิจกรรมสนับสนุนทางการเงินเพื่อสนับสนุน Start-up 
1. ศูนย์ขับเคลื่อนนวัตกรรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นำทีมผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารร่วมเป็นวิทยากรในหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นร่วมกับสถาบันอาหารเพื่อเพิ่มคุณวุฒิผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP แบบครบวงจรด้วยแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อรองรับการเติบโตของจังหวัดฉะเชิงเทรา 
เป็นการอบรมในหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับสถาบันอาหารเพื่อเพิ่มคุณวุฒิผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP แบบครบวงจรด้วยแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อรองรับการเติบโตของจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยจัดอบรมให้กับผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP และธุรกิจขนาดย่อม SME ด้านอาหาร จำนวน 65 คน

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1065373.html  นำเสนอ
2. โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ปี 2565 
     
  • หลักสูตรศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of  Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) ระหว่างเดือนธันวาคม 2565 – เดือนเมษายน 2566 โดยมีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์และฝึกปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบสำหรับประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเพื่อการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1062040.html  นำเสนอ
มีโครงการช่วยเหลือ =  1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.4.3Programmes for services access 
Organise training or programmes to improve access to basic services for all. 
มีการจัดอบรมเพื่อให้คนทั่วไปเข้าถึงบริการพื้นฐานเพื่อสุขภาพหรือเพื่อการอยู่อาศัยหรืออื่น ๆ  
Basic services are the provision of fundamental needs such as water, food, electricity and energy, shelter, sanitation and health, and education to improve people’s live 
1.  โรงเรียนการอาหารนานาชาติสวนดุสิต 
         
โรงเรียนการอาหารนานาชาติสวนดุสิต (Suan Dusit International Culinary School) ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 สืบเนื่องจากการที่รัฐบาล และหน่วยงานภาครัฐ อาทิเช่น กรมส่งเสริมการส่งออก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้เล็งเห็นความสำคัญ และแนวโน้มในการขยายตัวทางธุรกิจด้านอาหาร เพื่อเป็นช่องทางในการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งมีพื้นฐานทางวิชาการ ชื่อเสียงด้านคหกรรมศาสตร์ มาตั้งแต่สมัยเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน โดยได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไปและหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนนโยบายของผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่ต้องการพัฒนาศักยภาพเดิม ด้านอาหารของมหาวิทยาลัยฯ ให้สอดคล้อง และรองรับกับทิศทางการบริหารประเทศของรัฐบาล ศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ) จึงเป็นหน่วยงานออกแบหลักสูตรอบรมและบริการจัดอบรมทักษะด้านอาหารรองรับทั้งชาวไทยแต่ชาวต่างชาติ  

หลักฐาน
http://chefschool.dusit.ac.th/aboutus.php  นำเสนอ
2. โครงการส่งเสริมพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตบุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ฯ และผู้ที่สนใจ ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ 
       
จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการปฏิบัติตนในยุค COVID-19” เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม (บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ฯ และผู้ที่สนใจ) สามารถดูแลตนเอง และคนรอบข้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ภายใต้สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ฤดูกาล และการรับมือหลังเกิดภัยธรรมชาติ    

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/953952.html  นำเสนอ
มีโครงการหรือโปรแกรมที่จัดสนับสนุน 
โดยตรง = 1 คะแนน 
ถ้าสนับสนุนทางอ้อม = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
1.4.4Policy addressing poverty 
Participate in policy making at local, regional, national and/or global level to implement programmes and policies to end poverty in all its dimensions. 
1. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ เข้าร่วม เป็นสมาชิกเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsible Tourism) ภายใต้หน่วยงาน REBORN (Responsible Borneo)  ซาราวัก มาเลเซีย  ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐด้านการท่องเที่ยวของประเทศมาเลเซีย REBORN มีพันธกิจสำคัญที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม สังคมได้รับประโยชน์สูงสุด และไม่มีใครถูกทอดทิ้งละเลย ความยากจนหรือคนด้อยโอกาส หรือสังคมที่ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงจึงเป็นเป้าหมายสำคัญของโครงการนี้ 
         Responsible Tourism Blueprint for Tourism and Hospitality Industry in Sarawak มีพื้นฐานมาจากการพัฒนาอย่างยั่งยืน SDGs เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการยกระดับสู่การพัฒนาเป็นรูปแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาพรวมต่อไป โดยได้มีการนำแนวทางการพัฒนา Responsible Tourism Model เข้ารับการรับรองและสนับสนุนภายใต้ UNWTO แล้ว การดำเนินงานของ REBORN ได้มีการพัฒนาเครือข่ายกิจกรรมขึ้นเป็นจำนวนมาก ผ่านแพลตฟอร์มต่าง ได้แก่   
          (1) SEARA (South East Asia Research Academy แพลตฟอร์มนี้เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ โดยได้รวบรวมเอาภาคีสมาชิก จากประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่ง ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ ได้เป็นคณะทำงานภายใต้แพลตฟอร์มนี้ด้วย  
       (2) ICRTH (International Conference on Responsible Tourism and Hospitality) เป็นจัดประชุมระดับนานาชาติ โดยในปี 2022 จัดขึ้นที่ Sarawak, Malaysia ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ ได้เข้าร่วมเป็น Scientific Committee และ Co-Instructor และ Session Share 
      (3) RYL (Responsible Youth Leader) มุ่งเน้นการส่งเสริมความรับผิดชอบไปยังเยาวชน โดยมีการเปิดแพลตฟอร์มสำหรับเยาวชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบต่อสังคม โดยได้มีการเอานักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเข้าร่วมแพลตฟอร์มนี้ 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.searanetwork.org/committee  นำเสนอ
2. โครงการส่งเสริมพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตบุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ฯ และผู้ที่สนใจ ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ 
        จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการปฏิบัติตนในยุค COVID-19” เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม (บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ฯ และผู้ที่สนใจ) สามารถดูแลตนเอง และคนรอบข้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ภายใต้สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ฤดูกาล และการรับมือหลังเกิดภัยธรรมชาติ  

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1055696.html  นำเสนอ
local = 0.25 คะแนน 
regional = 0.25 คะแนน 
national = 0.25 คะแนน 
global =0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17