เป้าหมาย-13 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

13

แก้ปัญหาโลกร้อน

ดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ.

No.IndicatorResult
13.2Low-carbon energy use 
13.2.1Low-carbon energy tracking 
Measure the amount of low carbon energy used across the university 
whole university  13.2.1.2 โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme: LESS) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีงบประมาณ 2565 ด้วยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) : อบก. ได้ตรวจสอบใบสมัคร และเอกสารประกอบกิจกรรมพัฒนาโครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme: LESS) ประจำปีงบประมาณ 2565 ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต และคณะอนุกรรมการพิจารณาให้คำรับรองโครงการลดก๊าซเรือนกระจกของมหาวิทยาลัย พร้อมมอบใบประกาศเกียรติคุณ (Letter of Recognition: LOR) กิจกรรมโครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก(Less Emission Support Scheme: LESS) ประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 33 กิจกรรม โดยแบ่งเป็นการจัดการของเสีย จำนวน 30 กิจกรรม และการจัดการพลังงาน จำนวน 3 กิจกรรม ลดก๊าซเรือนกระจก (GHG) ได้ 26.627 tCO2eq 

หลักฐาน
13.2.1.1 ข้อมูลการใช้พลังงานคาร์บอนต่ำ ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  ปี 2565 (ทั้งมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และศูนย์ฯ) 
13.2.1.2 โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme: LESS) ปี 2565 

ลิงก์เผยแพร่
13.2.1.1 รายงานสรุป SDU zerowaste ปี 2565 ก๊าซเรือนกระจก
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/report-GHG-2565.pdf นำเสนอ 1
13.2.1.2 Green & Clean University : สวนดุสิตกับกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/Less-SDG.pdf นำเสนอ 2

partial measurement 
13.2.2Low-carbon energy use หลักฐาน
13.2.2.1 ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานคาร์บอนต่ำต่อพลังงานทั้งหมดที่ใช้ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  
ปี 2565 (ทั้งมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และศูนย์ฯ) 

ลิงก์เผยแพร่
13.2.2.1 รายงานสรุป SDU zerowaste ปี 2565 ก๊าซเรือนกระจก
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/report-GHG-2565.pdf  นำเสนอ
13.2.2.2 Green & Clean University : สวนดุสิตกับกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก 
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/Less-SDG.pdf  นำเสนอ
Total energy used 48,711,686,400 กิกะจูล/ปี  นำเสนอ
Total energy used from low-carbon sources 243,558,432 กิกะจูล/ปี  นำเสนอ
คิดเป็น ร้อยละ 0.05 ของพลังงานทั้งหมดที่ใช้
13.3Environmental education measures 
13.3.1Local education programmes on climate 
Provide local education programmes or campaigns on climate change risks, impacts, mitigation, adaptation, impact reduction and early warning 
13.3.1 โปรแกรมการศึกษา ให้ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยง ผลกระทบ การแก้ไขปัญหาหรือการแจ้งเตือน Climate Change ของท้องถิ่น  
13.3.1.1 การอบรมหลักสูตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากและการท่องเที่ยวชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio Circular Green Economy)  
13.3.1.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment  
หลักฐาน
 13.3.1.1 การอบรมหลักสูตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากและการท่องเที่ยวชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio Circular Green Economy) จัดโดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ระหว่างวันที่ 17–23 มิถุนายน 2566 เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้วยหลัก BCG Model และการออกแบบนโยบาย แผนงานโครงการ ตามหลัก BCG Model 
13.3.1.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ให้ความรู้เพื่อให้เกิดการจัดการของเสียและการปลดปล่อยมลพิษ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการขนส่งที่มีผลกระทบต่ำ ปี 2566 โดยคณะวิทยาการจัดการ และกรมการท่องเที่ยว 

ลิงก์เผยแพร่
13.3.1.1 Green & Clean University : สวนดุสิตกับกิจกรรมการส่งเสริมให้ชุมชนอนุรักษ์และปกป้องความ หลากหลายทางชีวภาพ
ด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่BCG และการสร้างความเข้มแข็ง เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/MCR2030-BCG-SDG.pdf นำเสนอ 1
13.3.1.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ
เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/CBT-SDG.pdf นำเสนอ 2
13.3.2Climate Action Plan, shared 
Have a university Climate Action plan, shared with local government and local community groups 
การจัดทำแผนปฏิบัติ Climate Change (การตรวจวัด วางแผน และ การลดปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก) และเผยแพร่ให้ หน่วยงานท้องถิ่นหรือชุมชนในพื้นที่ 
หลักฐาน
13.3.2.1 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของ Climate Change ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565-2567  
13.3.2.2 กิจกรรมการอบรม Disaster Resilience Scorecard for Cities เป็นเครืองมือที่ช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถประเมินจัดทำแผน รีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติในท้องถิ่น 

ลิงก์เผยแพร่
13.3.2.1 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf นำเสนอ 1
13.3.2.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับกิจกรรมการจัดทำคู่มือสำหรับการวางแผน
เพื่อความรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ (Disaster Resilience Scorecard for Cities)
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/MCR2030-SDG.pdf

https://envcenter.dusit.ac.th/การจัดการคุณภาพอากาศ/ นำเสนอ 2
13.3.3Co-operative planning for climate change disasters 
Participate in co-operative planning for climate change disasters, that may include the displacement of people both within a country and across borders, working with government  
13.3.3 ความร่วมมือกับภาครัฐในการวางแผน 
รับมือภัยพิบัติจาก Climate Change 
[X] Regional 

หลักฐาน
13.3.3.1 โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการลงนามความร่วมมือกับ 32 องค์กร พันธมิตรเพื่อจัดตั้ง “เครือข่ายองค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์” 15-17 มิย 66 
13.3.3.2 กิจกรรมการอบรม Disaster Resilience Scorecard for Cities เป็นเครืองมือที่ช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถประเมินจัดทำแผน รีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติในท้องถิ่น 

ลิงก์เผยแพร่
13.3.3.1 สรุปข่าว“เครือข่ายองค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์”
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/2023/06/30 นำเสนอ 1
13.3.3.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับกิจกรรมการจัดทำคู่มือสำหรับการวางแผน
เพื่อความรีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติ (Disaster Resilience Scorecard for Cities)
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/MCR2030-SDG.pdf นำเสนอ 2
Local  
Regional 
13.3.4Inform and support government 
Inform and support local or regional government in local climate change disaster or risk early warning and monitoring 
13.3.4 การให้ข้อมูลและสนับสนุนภาครัฐในระดับท้องถิ่นหรือภูมิภาคในการจัดทำระบบเตือนภัยและติดตามภัยพิบัติจาก Climate Change 
หลักฐาน
 13.3.4.1 กิจกรรมการอบรม Disaster Resilience Scorecard for Cities เป็นเครืองมือที่ช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถประเมินจัดทำแผน 
รีซิเลียนซ์ต่อภัยพิบัติในท้องถิ่น 
13.3.4.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment 

ลิงก์เผยแพร่
13.3.4.1 การรายงานคุณภาพอากาศ บริเวณมหาวิทยาลัยและศูนย์วิทยาศาสตร์ ค่า PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง
https://envcenter.dusit.ac.th/?p=1172 นำเสนอ 1 เช็คซ้ำ
13.3.4.2 การประเมินรูปแบบการกระจายตัวของ PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยวิธี Interpolation
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/PM2.5-SDG.jpg นำเสนอ 2
13.3.5Environmental education collaborate with NGO 
Collaborate with NGOs on climate adaptation 
13.3.5 ความร่วมมือกับองค์กรอิสระ (NGOs) 
การจัดทำแผนการรับมือต่อ Climate Change 
หลักฐาน
13.3.5.1 โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ 32 องค์กรพันธมิตร เพื่อจัดตั้ง “เครือข่ายองค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์” ณ ห้องประชุมวังเลิศ ชั้น 1 คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี หาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ สร้างบุคลากรภาคการท่องเที่ยว โดยการจัดตั้งเครือข่ายนี้ เป็นกิจกรรมสืบเนื่องมาจากโครงการวิจัยของสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย(สทอ.) หรือ TEATA ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) และองค์การบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. 

ลิงก์เผยแพร่
13.3.5.1 สรุปข่าว “เครือข่ายองค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์”
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/2023/06/30 นำเสนอ 1
13.3.5.2 สรุปข่าว โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ ร่วมกับ สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย(TEATA) จัดกิจกรรมลานแคมป์ปิ้งสีเขียว เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ low carbon ณ จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์
http://thmdusit.dusit.ac.th/main/%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%80/
นำเสนอ 2

Comment:  หน่วยงาน NGO คือ สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย (สทอ.) หรือ TEATA  
13.4Commitment to carbon neutral university 
13.4.1Commitment to carbon neutral university 
Have a target date by which it will become carbon neutral according to the Greenhouse Gas Protocols?  
13.4.1 แสดงความมุ่งมั่นสู่การเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นกลางด้านคาร์บอน 
scope 1, scope 1 and 2, scope 1, 2, and 3 (full)

หลักฐาน
13.4.1.1 นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565 ข้อ 8 ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมในมหาวิทยาลัย13.4.1.2 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของ Climate Change ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565-2567 กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ ไว้ที่ ปี 2576 (2033) 

ลิงก์เผยแพร่
13.4.1.1 นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environmental-quality-management-policy-2565.pdf
นำเสนอ 1
13.4.1.2 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf
นำเสนอ 2
scope 1 
scope 1 and 2 
Scope 1, 2 and 3 (partial) 
Scope 1, 2 and 3 (full)
13.4.2Achieve by date หลักฐาน
13.4.2.1 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของ Climate Change ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565-2567 กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ ไว้ที่ ปี 2576 (2033)  

ลิงก์เผยแพร่
13.4.1.1 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf
Achieve by  
Date for achieved prior to 2021 – 4 points 
• Date for achieved by: 2021-2029 – 3 points 
• Date for achieved by: 2030-2039 – 2 points 
• Date for achieved by: 2040-2049 – 1 point 
• Date for achieved by: 2050 or later – 0.5  
ปีที่สำเร็จ คือ พ.ศ. 2582 (ค.ศ.2039) Scope 1, 2 and 3 (full)  นำเสนอ
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17