เป้าหมาย-2 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

2

ความอดอยากต้องหมดไป

ขจัดความอดอยาก บรรลุความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ดีขึ้น ส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน

No.IndicatorResult
2.2Campus food waste 
2.2.1Campus food waste tracking 
Measure the amount of food waste generated from food served within the university.  
ขยะอาหาร มีระบบการตรวจสอบ 
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีระบบการจัดการขยะของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขต และศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตามแนวปฏิบัติการจัดการขยะเศษอาหาร  เรื่อง การจัดการขยะเศษอาหาร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
 
ปริมาณขยะอาหาร = 80-120 กิโลกรัมต่อวัน 
ปริมาณขยะอาหารทั้งหมด ปี 2565  
= 28.8 ตันต่อปี (28,800 กิโลกรัม) 

Total food waste : 29 mt  นำเสนอ
Campus population : 9228 นำเสนอ

ลิงก์เผยแพร่
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/about/ 


https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/foodwaste-system.pdf นำเสนอ 1
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/Report-harzadous-2565.pdf
นำเสนอ 2


—————————————————————————————

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีระบบการจัดการขยะของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขต และศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตามแนวปฏิบัติ  
 
ปริมาณขยะอาหาร = 80-120 กิโลกรัมต่อวัน 
ปริมาณขยะอาหารทั้งหมด ปี 2565  
= 28.8 ตันต่อปี (28,800 กิโลกรัม) 
  
ลิงก์เผยแพร่
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/  
whole universityทั้ งมหาวิทยาลัย = 1 คะแนน 
Partialบางส่วน = 0.5 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.2.2Campus food waste ปริมาณขยะอาหาร = 80-120 กิโลกรัมต่อวัน 
ปริมาณขยะอาหารทั้งหมด ปี 2565  
= 28.8 ตันต่อปี (28,800 กิโลกรัม) 
 
FTES นักศึกษา = 7018.222 
FTE บุคลกร = 2210 
FTES นักศึกษาและบุคลากร = 9228.222  Campus population นำเสนอ
Total food waste จำนวนทั้งหมด (หน่วย = ตัน) 
Campus population ต่อจำนวนนักศึกษาและบุคลากร  FTE  
2.3Student hunger 
2.3.1Student food insecurity and hunger 
Have a programme in place on student food insecurity.  
โครงการช่วยเหลือเกี่ยวกับอาหารสำหรับนักศึกษาผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพได้  
1. โครงการอาหารกลางวัน 1 หอพักนักศึกษา ศูนย์ฯ นครนายก และโครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดภัยฯ จ.ปราจีนบุรี    
     มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสำนักกิจการพิเศษ รวมกับศูนย์การศึกษา นครนายก ดำเนินงานโครงการอาหารกลางวัน 1 หอพักนักศึกษา ศูนย์ฯ นครนายก และโครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดภัยฯ จ.ปราจีนบุรี  เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการทำสวนเกษตรอินทรีย์แบบไม่ใช้สารเคมีรูปแบบเดียวกัน สนับสนุนการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ของนักศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาที่อยู่อาศัยในหอพักนักศึกษาของศูนย์การศึกษา นครนายก สามารถนำผลผลิตที่ได้มาใช้ในการประกอบอาหารเพื่อลดค่าใช้จ่ายและถือเป็นการเพิ่มประสบการณ์ในการใช้ชีวิตให้กับนักศึกษาได้เป็นอย่างดี  
 
ลิงก์เผยแพร่
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2680/ นำเสนอ


2. โครงการอาหารกลางวัน ครัวสวนดุสิต 
      มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีการให้บริการด้านอาหารที่หลากหลาย ครัวสวนดุสิตมีร้านอาหารที่สามารถให้บริการอาหารแก่นักศึกษา บุคลากร และบุคคลทั่วไปที่เข้ามาภายในมหาวิทยาลัย โดยจะมุ่งเน้น 
การบริการร้านอาหารที่หลากหลาย เช่น โครงการอาหารกลางวัน 1 (ครัวสวนดุสิต) สวนดุสิตโฮมเบเกอรี่ ห้องอาหารดุสิตา โรงแรมสวนดุสิตเพลส 295 Meeting Point หรือ ซุ้มเขียว ลานดุสิตโพล ฯลฯ มีการควบคุมคุณภาพของอาหาร และติดตามแหล่งที่มาของวัตถุดิบ ทั้งนี้ในด้านความสะอาดและคุณภาพของวัตถุดิบ  
ทางมหาวิทยาลัยจะมีการตรวจสอบให้ได้มาตรฐานอยู่อย่างสม่ำเสมอ 

ลิงก์เผยแพร่
แหล่งวัตถุดิบท้องถิ่น
https://dusitproduct.dusit.ac.th/2023/1752/ นำเสนอ
มีการช่วยเหลือลดความหิวโหย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.3.2Students and staff hunger interventions 
Provide interventions to target hunger among students and staff (e.g. including supply and access to food banks/pantries).  
มีการแทรกแซงหรือแจกอาหาร 
1. การช่วยเหลืออาหารให้กับบุคลากรและนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจัดให้บริการอาหารเพื่อให้ความช่วยเหลือบุคลากรและนักศึกษาตามโอกาสต่าง ๆ โดยในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย อาหารเช้า อาหารว่าง อาหารกลางวัน อาหารเจ และอาหารลดราคา เพื่อการช่วยเหลือให้บุคลากร นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไปได้มีโอกาสเข้าถึงบริการอาหารฟรี หรือราคาถูกได้  
 
ลิงก์เผยแพร่
การช่วยเหลืออาหารให้กับบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  (สิงหาคม 2565 – กรกฎาคม 2566) (dusit.ac.th)
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2822/ นำเสนอ

2. โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดภัย และนันทนาการ จังหวัดปราจีนบุรี 
     มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสำนักกิจการพิเศษ รวมกับศูนย์การศึกษา นครนายก ดำเนินงานโครงการอาหารกลางวัน 1 หอพักนักศึกษา ศูนย์ฯ นครนายก และโครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดภัยฯ จ.ปราจีนบุรี  เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการทำสวนเกษตรอินทรีย์แบบไม่ใช้สารเคมีรูปแบบเดียวกัน สนับสนุนการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ของนักศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาที่อยู่อาศัยในหอพักนักศึกษาของศูนย์การศึกษา นครนายก สามารถนำผลผลิตที่ได้มาใช้ในการประกอบอาหารเพื่อลดค่าใช้จ่ายและถือเป็นการเพิ่มประสบการณ์ในการใช้ชีวิตให้กับนักศึกษาได้เป็นอย่างดี 

ลิงก์เผยแพร่
กรณีศึกษา โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดภัย และนันทนาการ จังหวัดปราจีนบุรี
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2680/ นำเสนอ
มีการแทรกแซงหรือเข้าไปช่วยเหลือ = 1 คแนน  
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.3.3Sustainable food choices on campus  
Provide sustainable food choices for all on campus, including vegetarian and vegan food. 
[X] all food outlets 
[] selected food outlets 

1. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีการให้จุดจำหน่ายบริการด้านอาหารที่หลากหลาย มีร้านอาหารที่สามารถให้บริการอาหารแก่นักศึกษา บุคลากร และบุคคลทั่วไปที่เข้ามาภายในมหาวิทยาลัย และยังได้รับการรับรองมาตรานอาหารปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)  จากกรุงเทพมหานคร  

หลักฐา
 เอกสารเผยแพร่หน้าเว็บ SDG  

ลิงก์เผยแพร่
การบริการอาหารที่หลากหลายเพิ่มทางเลือกให้กับนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (dusit.ac.th) 
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2827/ นำเสนอ

2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ภายใต้อัตลักษณ์ด้านอาหาร ได้มีกาส่งเสริมและพัฒนาการผลิตอาหารที่มีประโยชน์สู่สังคมอย่างต่อเนื่องผ่านโครงการสวนดุสิต Home Bakery ที่มีหน้าร้านเปิดให้บริการทุกวันสำหรับบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงอาหารปลอดภัยได้  

ลิงก์เผยแพร่
https://m.facebook.com/profile.php?id=100064529566581&_rdr  
https://www.facebook.com/people/HOME-Bakery-Official-Fanpage/100064529566581/ นำเสนอ
มี Food Outlet แยกเฉพาะ = 1คะแนน  
มี รายการอาหารให้เลือกในร้าน = 0.5 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.3.4Healthy and affordable food choices 
Provide healthy and affordable food choices for all on campus. มีการขายอาหาร โรงอาหารในมหาวิทยาลัยในราคาที่ไม่แพง 
[X] all food outlets 
[] selected food outlets 

1. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีการให้จุดจำหน่ายบริการด้านอาหารที่หลากหลาย มีร้านอาหารที่สามารถให้บริการอาหารแก่นักศึกษา บุคลากร และบุคคลทั่วไปที่เข้ามาภายในมหาวิทยาลัย ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)  จากกรุงเทพมหานคร และราคาย่อมเยา ได้แก่ 
     – โครงการอาหารกลางวัน 1 (ครัวสวนดุสิต 1)  
     – โครงการอาหารกลางวัน 1 (ครัวสวนดุสิต 2)  
     – 295 Meeting Point หรือซุ้มเขียว ลานดุสิตโพล  
     – ศูนย์ปฏิบัติการอาหารนานาชาติ Street Food  
     – Poll Café  
     – La-or Snack 
     – โฮมเบเกอรี และ Home Café 
     – Dusit Bistro 
 
ลิงก์เผยแพร่
การบริการอาหารที่หลากหลายเพิ่มทางเลือกให้กับนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (dusit.ac.th) 
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2827/ นำเสนอ

2. จุดให้บริการอาหารภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่จัดให้บริการไว้สำหรับทุกคนให้สามารถเข้าถึงได้ในราคาที่ไม่แพง 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitproduct.dusit.ac.th/2023/1851/   นำเสนอ
มีบริการร้านอาหาร = 1 คะแนน  
มีร้านอาหารจำกัดแต่มีรายการให้เลือก =  0.5 คะแนน  
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.4Proportion of graduates in agriculture and aquaculture including sustainability aspects 
2.4.1Proportion of graduates in agriculture and aquaculture ปีการศึกษา 2565  ไม่มีนักศึกษาสำเร็จการศึกษา ใน 3 หลักสูตรดังกล่าว   

Number of graduates : 1470 ค่ามาจากตัวชี้วัดอื่น 
Number of graduates จำนวน 3 หลักสูตร 
1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณภัย 
Bachelor of Science Program in Environmental Health and Disasters หลักสูตรปี 2565 
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหารเพื่อการสร้างเสริมสมรรถภาพและการชะลอวัย 
Bachelor of Science Program in Nutrition and Culinary Arts for Health Capability and Anti-Aging Wellness 
หลักสูตรปี 2563 
3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 
Bachelor of Science Program in Occupational Health and Safety 
หลักสูตรปรับปรุงปี 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?page_id=4171  
Number of graduates from agriculture and aquaculture courses including sustainability aspects ปีการศึกษา 2565  ไม่มีนักศึกษาสำเร็จการศึกษา ใน 3 หลักสูตรดังกล่าว   
2.5National hunger 
2.5.1Access to food security knowledge  
Provide access on food security and sustainable agriculture and aquaculture knowledge, skills or technology to local farmers and food producers.  
การเข้าถึงความรู้ทักษะหรือเทคโนโลยี เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารและการเกษตร  
[x] free 
[] paid 

1. หอมขจรฟาร์ม อบรมเชิงปฏิบัติการ การปลูกเมล่อนในโรงเรือน ภายใต้โครงการ “การพัฒนากลุ่มเครือข่ายเกษตรปลอดภัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รุ่นที่ 1” ให้แก่กลุ่มเกษตรกร  
 
ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/947897.html  นำเสนอ
หอมขจรฟาร์ม 

2. โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
        มีการสร้างองค์ความรู้ด้านอาหาร ให้ผู้ที่สนใจ สามารถเข้าถึงความรู้ ทักษะ ด้านความมั่นคงทางอาหาร เผยแพร่ ในรูปแบบ Infographic  ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของโรงเรียนการเรือน  
 
ลิงก์เผยแพร่
การเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารเพื่อความปลอดภัยอย่างยั่งยืนมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (dusit.ac.th)  
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2846/ นำเสนอ 2
บริการฟรี =1 คะแนน 
เสียเงิน = 0.25 คะแนน  
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 

2.5.2Events for local farmers and food producers 
Provide events for local farmers and food producers to connect and transfer knowledge. มีกิจกรรมให้ความรู้ สำหรับเกษตรกร เพื่อเชื่อมต่อความรู้  
1. โครงการสานฝันสร้างอาชีพและยกระดับรายได้เกษตรกร เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และลูกหลานของเกษตรกรด้านปศุสัตว์ เพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีอย่างยั่งยืน 
 
ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1035214.html  นำเสนอ

2. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรเพื่อผลิตภาชนะอาหาร” (รุ่นที่ 1 และ รุ่นที่ 2) ฟรี 
(เป็นการจัดอบรมบริการความรู้โดยใช้ห้องปฏิบัติของมมหาวิทยาลัย สอนเทคนิคการทำผลิตภัณฑ์ ณ ห้องโถง ชั้น 1 อาคารแฟชั่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี) 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/995530.html  นำเสนอ
มีกิจกรรมบริการฟรี =1 คะแนน 
เสียเงิน = 0.25 คะแนน 
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.5.3University access to local farmers and food producers 
Provide access to university facilities (e.g. labs, technology, plant stocks) to local farmers and food producers to improve sustainable farming practices. 
: การเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านเกษตร ได้  
1. ศูนย์เครื่องมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 
       มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งศูนย์เครื่องมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เพื่อ 1) สนับสนุนการเรียน การสอนด้านวิทยาศาสตร์ 
2) ให้บริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ และ 3) ให้บริการด้านวิจัยโดยใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 
    โดยศูนย์เครื่องมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ได้รับรองมาตรฐาน GMP ESPRel และ Green Office  มีเครื่องมือวิทยาศาสตร์/ห้องปฏิบัติการ และสารเคมีห้องปฏิบัติการศูนย์เครื่องมือ สำหรับบริการที่มีมาตราฐาน 
 
ลิงก์เผยแพร่
ศูนย์เครื่องมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 
https://www.facebook.com/SECSuanDusit
https://sec.dusit.ac.th/  นำเสนอ

2. หอมขจรฟาร์ม 
       โครงการเมืองต้นแบบเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2561 บนพื้นที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยสู่เกษตรกรและผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ ในรูปแบบความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกพื้นที่ ได้แก่ 
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) 
จังหวัดสุพรรณบุรี 
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) 
กรมราชทัณฑ์ 
เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) 

ลิงก์เผยแพร่
หอมขจรฟาร์ม  นำเสนอ
https://web.facebook.com/permalink.php?story_fbid=581433033769262&id=100057077125390&_rdc=1&_rdr 
มีกิจกรรมบริการฟรี =1 คะแนน 
เสียเงิน = 0.25 คะแนน  
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
2.5.4Sustainable food purchases 
Prioritise purchase of products from local, sustainable sources. 
มีความมุ่งมั่นในการซื้อวัตถุดิบจากแหล่งท้องถิ่นที่ปลอดภัย  
1. แนวปฏิบัติด้านแหล่งที่มาของอาหาร  
การประกอบอาหาร การจัดหา และการใช้วัตถุดิบ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต  

ลิงก์เผยแพร่
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/about/ 
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/food-select-source.pdf  นำเสนอ

2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิตให้ความสำคัญกับการแสวงหาวัตถุดิอาหารปลอดภัย นอกจากการซื้อจากชุมชนจึงได้มีการพัฒนาพื้นที่การเกษตรแนวใหม่ เพื่อการันตีความปลอดภัยและใช้เป็นพื้นที่เผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเกษตรสู่ชุมชน 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitproduct.dusit.ac.th/2023/1752/   นำเสนอ
ซื้อจากท้องถิ่นเป็นหลัก = 1 คะแนน  
มีหลักฐาน = 1 คะแนน 
มีหลักฐานการเผยแพร่สู่สาธารณะ =  1 คะแนน 
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17