เป้าหมาย-5 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

5

ความเท่าเทียมทางเพศ

สร้างความเท่าเทียมทางเพศ เสริมพลังทางสังคมแก่ผู้หญิงและเด็กหญิง

No.IndicatorResult
5.2Proportion of graduates with teaching qualification  
5.2.1Proportion of women first-generation จำนวนผู้สมัครทั้งหมด ปี 2565  = 10,889 คน 
จำนวนผู้รายงานตัวเข้าเป็นนักศึกษา ปี 2565 = 2,145 คน 
จำนวนนักศึกษา ผู้หญิง ปี 2565 =  1,505 คน 
จำนวนนักศึกษาที่เป็นลูกคนแรก ผู้หญิง = 852 คน  นำเสนอ
Number of women starting a degree (FTE)  
หา FTE จำนวนผู้หญิงทั้งหมด ต่อ จำนวนนักศึกษาทั้งหมดของปี 2565  
FTES นักศึกษาทั้งหมด ปี 2565 = 7018.222 
FTES นักศึกษาหญิง ปี 2565 (1,505 คน) = 1755.83       
Number of first-generation women starting a degree : 
หา FTE จำนวนผู้หญิงคนแรกในครอบครัวที่เรียนระดับปริญญา ต่อ จำนวนผู้หญิงทั้งหมด ปี 2565  
จำนวนนักศึกษาหญิงที่เริ่มเรียนปี 2565 =  1,472 คน 
FTES นักศึกษาที่เป็นลูกคนแรก ผู้หญิง (852 คน) = 994.00 
5.2.5Number of students7,914 นำเสนอ
5.2.3Number of students starting a degree2,145 นำเสนอ
5.2.4Number of first-generation women starting a degree1,183 นำเสนอ
5.2.1Number of women starting a degree1,505 นำเสนอ
5.3Student access measures 
5.3.1Tracking access measures 
Systematically measure and track women’s application rate, acceptance or entry  
มีระบบการวัดและติดตามผลอัตราการรับสมัครของผู้หญิง และอัตราการผ่านการคัดเลือก  
Yes

มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีระบบสำหรับการวัดและติดตา ผลการรับสมัครนักศึกษา ผ่านระบบ ดังนี้ 
1. ระบบรับสมัครนักศึกษาใหม่  ที่สามารถติดตามการสมัครของผู้สมัครได้แบบทันที  
2. ผ่านระบบบริหารการศึกษา ในการติดตามจำนวนนักศึกษารายงานตัวเข้าศึกษา  
ลิงก์เผยแพร่
ระบบรับสมัคร นำเสนอ 1
ระบบบริหารการศึกษา 
รายงานจำนวนผู้เข้าศึกษา ปี 2565  นำเสนอ 2

comment :
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีระบบสำหรับการวัดและติดตาม ผลการรับสมัครนักศึกษา ผ่านระบบ ดังนี้ 
1. ระบบรับสมัครนักศึกษาใหม่  ที่สามารถติดตามการสมัครของผู้สมัครได้แบบทันที  
2. รายงานจำนวนผู้เข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565  ในการติดตามจำนวนนักศึกษารายงานตัวเข้าศึกษา
มีระบบหรือกระบวนการ = 1 คะแนน  
(ระบบวัด / ระบบติดตาม) 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.3.2Policy for women applications and entry 
Have a policy (e.g. an Access and Participation plan) addressing women’s applications, acceptance, entry, and participation at the university. 
มีนโยบายการรับสมัครนักศึกษาระบุถึงผู้หญิง  
Yes

 1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564 หมวด 6 การรับเข้าศึกษาและระยะเวลาการศึกษา ข้อ 19 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เพศหญิงสามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตร 
             
 
 
 
2. เกณฑ์การรับสมัครนักศึกษา ประจำปี 2565 
       หน้าระบบรับสมัคร ระบุ “โดยมหาวิทยาลัย 
สวนดุสิต  เปิดโอกาสให้เพศหญิงหรือเพศทางเลือก สามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาหรือใช้บริการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเท่าเทียม” 
 
 
3. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 
หมวด  1 บททั่วไป 
มาตรา 7 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 6 ให้มหาวิทยาลัยคำนึงถึง 
ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา 
ความเป็นเลิศทาววิชาการควบคู่ไปกับคุณธรรมและจริยธรรม 
มาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ 
การนำความรู้สู่สังคมเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาสังคม 
ความรับผิดชอบต่อสังคมและรัฐในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น 
การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส่และตรวจสอบได้ 
การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร 
การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 
——————————————————————————–

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564  
           หมวด 6 การรับเข้าศึกษาและระยะเวลาการศึกษา ข้อ 19 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 
2. เกณฑ์การรับสมัครนักศึกษา ประจำปี 2565 
3. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 

ลิงก์เผยแพร่
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต – สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน (dusit.ac.th)
เกณฑ์การรับสมัคร
https://sdulaw.dusit.ac.th/app/

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/suandusit-university-2558.pdf

ข้อบังคับ 2564 ปริญญาตรี 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-824.pdf  นำเสนอ 1

https://tcas.dusit.ac.th/main/ นำเสนอ 2

comment :
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564 การรับเข้าศึกษาและระยะเวลาการศึกษา ข้อ 19
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา โดยเพศหญิงสามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตร
เกณฑ์การรับสมัครนักศึกษา ประจำปี 2565
หน้าระบบรับสมัคร ระบุ “โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดโอกาสให้เพศหญิงหรือเพศทางเลือก สามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตร
ของมหาวิทยาลัย และสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาหรือใช้บริการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเท่าเทียม”

Policy created (yyyy) : 2021  นำเสนอ
Policy reviewed (yyyy) : 2023  นำเสนอ
มีนโยบาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
มีการทำ/ปรับปรุงนโยบายใน 2019-2023 = 1 คะแนน 
5.3.3Women’s access schemes 
Provide women’s access schemes, including mentoring, scholarships, or other provision  
มีแผนการส่งเสริมการเรียนสำหรับผู้หญิง เช่น มี Mentoring, ทุนการศึกษา หรืออื่น ๆ  
mentoring, scholarships, other provisions

1. ศูนย์ SDU Wellness Center  
           คณะครุศาสตร์เปิดศูนย์ SDU Wellness Center เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาในการเป็นที่ปรึกษาทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมีระบบที่ปรึกษา และกิจกรรมให้ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงการดูแลได้หลากหลายช่องทาง กิจกรรมการดูแลครอบคลุมการช่วยเหลือในปัญหาต่าง ๆ เช่น การพัฒนาทักษะ Empathy Skill, เสวนาความเท่าเทียมที่ต้องเข้าใจบนเส้นทางเพศภาวะและเพศวิถี, เพื่อนหญิง เป็นต้น  
 
2. ระบบรับสมัคร 
    หน้าระบบรับสมัคร ระบุ  “โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเปิดโอกาสให้เพศหญิงหรือเพศทางเลือก สามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาหรือใช้บริการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเท่าเทียม” 

—————————————————————–
1. ศูนย์ SDU Wellness Center  
คณะครุศาสตร์เปิดศูนย์ SDU Wellness Center เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาในการเป็นที่ปรึกษาทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมีระบบที่ปรึกษา และกิจกรรมให้ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงการดูแลได้หลากหลายช่องทาง กิจกรรมการดูแลครอบคลุมการช่วยเหลือในปัญหาต่าง ๆ เช่น การพัฒนาทักษะ Empathy Skill, เสวนาความเท่าเทียมที่ต้องเข้าใจบนเส้นทางเพศภาวะและเพศวิถี, เพื่อนหญิง เป็นต้น  
ลิงก์เผยแพร่
SDU Wellness Center ยินดีต้อนรับ (office.com) 

SDU Wellness Center 
https://sway.office.com/Y2SK7BuWITzM7ALN?ref=Link  นำเสนอ 1
 
2. มีการพัฒนาระบบคัดกรองการออกกลางคันของนักศึกษา ด้วยการใช้แบบคัดกรองความเสี่ยงการออกกลางคันของนักศึกษา ผ่านการประเมินสถานการณ์โดยนักจิตวิทยา  
ลิงก์เผยแพร่
แบบคัดกรองความเสี่ยงการออกกลางคันของนักศึกษา | มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (dusit.ac.th) 

เว็บรับสมัคร 
https://tcas.dusit.ac.th/main/  นำเสนอ 2

comment :
1. ศูนย์ SDU Wellness Center  
           คณะครุศาสตร์เปิดศูนย์ SDU Wellness Center เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาในการเป็นที่ปรึกษาทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมีระบบที่ปรึกษา และกิจกรรมให้ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงการดูแลได้หลากหลายช่องทาง กิจกรรมการดูแลครอบคลุมการช่วยเหลือในปัญหาต่าง ๆ เช่น การพัฒนาทักษะ Empathy Skill, เสวนาความเท่าเทียมที่ต้องเข้าใจบนเส้นทางเพศภาวะและเพศวิถี, เพื่อนหญิง เป็นต้น  
 
2. ระบบรับสมัคร 
    หน้าระบบรับสมัคร ระบุ  “โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเปิดโอกาสให้เพศหญิงหรือเพศทางเลือก สามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาหรือใช้บริการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเท่าเทียม” 
Mentoring = 0.4 คะแนน  
Scholarship = 0.4 คะแนน  
Other targeted support = 0.2  
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.3.4Women’s application in underrepresented subjects 
Encourage applications by women in subjects where they are underrepresented. Through university outreach or through collaboration with other universities, community groups, government or NGOs in regional or national campaigns.  
มหาวิทยาลัยทำงานร่วมกับชุมชน รัฐบาล NGO เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาในสาขาที่ผู้หญิงถูกด้อยค่า  
through collaboration with other universities and/or community groups and/or government and/or NGOs in regional or national campaigns

1. ประชุมหารือแนวทางร่วมกันเพื่อการพัฒนาศักยภาพอาชีพบัตเลอร์ ระหว่างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการบิน โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน และ บริษัท โรงแรม เซ็นทรัล พลาซา จำกัด (มหาชน) เพื่อเสริมสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในอาชีพบัตเลอร์ ผ่านการสนับสนุนของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว  
 
2. โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดพิธีมอบเกียรติบัตรและถุงมือประจำตัวสำหรับผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร “การอบรมเชิงปฏิบัติการบัตเลอร์มืออาชีพ” 
—————————————————————————-

1. ประชุมหารือแนวทางร่วมกันเพื่อการพัฒนาศักยภาพอาชีพบัตเลอร์ ระหว่างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการบิน โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน และ บริษัท โรงแรม เซ็นทรัล พลาซา จำกัด (มหาชน) เพื่อเสริมสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในอาชีพบัตเลอร์ ผ่านการสนับสนุนของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว  
 ลิงก์เผยแพร่
-ข่าวประชาสัมพันธ์ – การประชุมหารือแนวทางร่วมกันเพื่อการพัฒนาศักยภาพอาชีพบัตเลอร์
 
 https://www.dusit.ac.th/home/2022/973826.html  นำเสนอ 1
 
2. โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดพิธีมอบเกียรติบัตรและถุงมือประจำตัวสำหรับผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร “การอบรมเชิงปฏิบัติการบัตเลอร์มืออาชีพ” 
ลิงก์เผยแพร่
ข่าวประชาสัมพันธ์ – พิธีมอบเกียรติบัตรและถุงมือประจำตัวสำหรับผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร “การอบรมเชิงปฏิบัติการบัตเลอร์มืออาชีพ” 


คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต  ประชาสัมพันธ์ประกาศการรับสมัครนักศึกษาที่สนใจคัดเลือกรับทุนการศึกษา ได้แก่ 
    – ประกาศสำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางกาดรศึกษา เรื่อง เปิดรับโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น 
    – ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง รับสมัครผู้มีคุณสมบัติเข้ารับการคัดเลือกเป็นนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษา โครงการทุนเอราวัณ 
https://www.dusit.ac.th/home/2022/970146.html

https://sites.google.com/view/sduaf/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81 นำเสนอ 2

comment
1. เพิ่มบทบาทผู้หญิงในอาชีพบัตเลอร์
2. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประชาสัมพันธ์ประกาศการรับสมัครนักศึกษาที่สนใจคัดเลือกรับทุนการศึกษา ได้แก่
ประกาศสำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางกาดรศึกษา เรื่อง เปิดรับโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น
ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง รับสมัครผู้มีคุณสมบัติเข้ารับการคัดเลือกเป็นนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษา โครงการทุนเอราวัณ
มีกิจกรรม Outreach = 0.5 คะแนน 
มี Collaboration = 0.5 คะแนน  
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.4Proportion of senior female academics 
5.4.1Proportion of senior female academics บุคลากรสายวิชาการ   จำนวน 587 คน  นำเสนอ
      –  เพศหญิง = 400 คน 
      –  เพศชาย  = 187 คน 
 
 
คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย  จำนวน  45 คน  นำเสนอ
       – เพศหญิง = 25 คน  นำเสนอ
       – เพศชาย  = 20 คน 
        
คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย   ประกอบด้วย 
อธิการบดี   1 คน  
รองอธิการบดี    7 คน 
ประธานที่ปรึกษา  1 คน 
คณบดี 9  คน 
ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ  1 คน 
ผู้อำนวยการสำนัก 8 คน 
ผู้ช่วยอธิการบดี 3  คน 
หัวหน้าสำนักงานเลขานุการสภามหาวิทยาลัย 1  คน 
ผู้อำนวยการกอง   12  คน 
ผู้จัดการสวนดุสิตโฮมเบเกอรี่ 1  คน 
หัวหน้าสำนักงานตรวจสอบภายใน 1  คน 


————————————————————————-
Academic Staff บุคลากรสายวิชาการ 
หญิง = 395 คน 
ชาย = 178 คน 
รวมบุคลากรสายวิชาการ =   573 คน  
Senior Academic Staff   
ผู้บริหาร  =  45 คน 
ศาสตราจารย์ = 1 คน  
รวม Senior = 46 คน  
Senior Academic Staff ผู้หญิง = 13 คน 

ลิงก์เผยแพร่
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/main/report/Y2023R1 
Number of senior academic staff (FTE)  
Academic Staff / Senior 
รวมบุคลากรสายวิชาการ =   587 คน  
FTES  Academic Staff =  587 คน 
Senior Academic Staff  = 45 คน   นำเสนอ
Number of female senior academic staff 
(Senior ผู้หญิง / Senior Academic Staff) 
Senior Academic Staff ผู้หญิง = 25 คน   นำเสนอ
Academic Staff หญิง = 400 คน 
Number of employees1,277 นำเสนอ
5.5Proportion of women receiving degrees 
5.5.1Proportion of female degrees awarded นักศึกษาหญิงที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565 = 1,120 คน  
Number of graduates: Total  นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2565  =  1,470 คน   นำเสนอ
      เพศหญิง  1,120  คน  
      เพศชาย   350  คน 
Number of graduates by subject area (STEM, Medicine, Arts & Humanities / Social Sciences): Total   นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2565  =  1,470 คน   นำเสนอ
    – S วิทยาศาสตร์  = 216 คน 
    – T เทคโนโลยี = 38  คน  
    – การพยาบาล = 99 คน 
    – มนุษย์ศาสตร์ =  235 คน 
    – สังคมศาสตร์ =  882 คน 
——————————————————————————-
ลิงก์เผยแพร่
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/documents/Y2023R3/STD202303-09-Rev1.pdf
Number of graduates: STEM ผู้สำเร็จการศึกษา  = 254 คน นำเสนอ
   – S วิทยาศาสตร์  = 216 คน 
   – T เทคโนโลยี = 38  คน  
Number of graduates: Medicine ผู้สำเร็จการศึกษา 
   –  การพยาบาล = 99 คน  นำเสนอ
Number of graduates: Arts & Humanities / Social Sciences ผู้สำเร็จการศึกษา = 1,117 คน นำเสนอ
    – มนุษย์ศาสตร์ =  235 คน 
    – สังคมศาสตร์ =  882 คน 
Number of female graduates by subject area (STEM, Medicine, Arts & Humanities / Social Sciences): Total นักศึกษาหญิงที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2565 = 1,120 คน  นำเสนอ
Number of female graduates: STEM นักศึกษาหญิงที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2565 = 137 คน  นำเสนอ
   – S วิทยาศาสตร์  = 118 คน 
   – T เทคโนโลยี = 19  คน
Number of female graduates: Medicine ผู้สำเร็จการศึกษา  (ผู้หญิง)  
     – การพยาบาล = 94 คน  นำเสนอ
Number of female graduates: Arts & Humanities / Social Sciences ผู้สำเร็จการศึกษา  (ผู้หญิง)   889 คน นำเสนอ
   – มนุษย์ศาสตร์ =  171 คน 
   – สังคมศาสตร์ =  718 คน 
5.6.1Policy of non-discrimination against women 
Have a policy of non-discrimination against women นโยบายการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง  
1. ข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา 
      –  ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต-ว่าด้วย-การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564 
      – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิตว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2566 
     – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 
 2.  พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558   หมวด  1 บททั่วไป 
มาตรา 7 เพื่อให้บรรบุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 6 ให้มหาวิทยาลัยคำนึงถึง 
(8) ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา 
(9) ความเป็นเลิศทาววิชาการควบคู่ไปกับคุณธรรมและจริยธรรม 
(10) มาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ 
(11) การนำความรู้สู่สังคมเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาสังคม 
(12) ความรับผิดชอบต่อสังคมและรัฐในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น 
(13) การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส่และตรวจสอบได้ 
(14)การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร 
(15) การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 

2564 ปริญญาตรี 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-824.pdf  นำเสนอ 1
 
2566 ปริญญาตรี 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2566-U07C-861.pdf 
 
2566 บัณฑิตศึกษา 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2566-U07C-877.pdf 
 
 
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/suandusit-university-2558.pdf  นำเสนอ 2

comment
1. ข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา 
      –  ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต-ว่าด้วย-การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564 
2.  พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558   หมวด  1 บททั่วไป 
มาตรา 7 เพื่อให้บรรบุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 6 ให้มหาวิทยาลัยคำนึงถึง 
(8) ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา

Policy created (yyyy) : 2021  นำเสนอ
Policy reviewed (yyyy) : 2023  นำเสนอ
————————————————————————

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 โดยเฉพาะหมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย  
       แสดงให้เห็นถึงความเท่าเทียมทางเพศอย่างแท้จริง โดยไม่มีส่วนใดที่จะระบุถึงเพศ หรือการปฎิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน หรือแตกต่างกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย 

ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=3161 
หมายเหตุ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย
 
มีนโยบาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
มีการทำ/ปรับปรุงนโยบายใน 2019-2023 = 1 คะแนน 
5.6.2Non-discrimination policies for transgender 
Have a policy of non-discrimination for transgender people. 
1. สำหรับนักศึกษา 
    (1) ข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา 
          – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย 
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564  
          – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย  
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2566 
             – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย  
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 
      (2) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558   หมวด  1 บททั่วไป  มาตรา 7 เพื่อให้บรรบุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 6 ให้มหาวิทยาลัยคำนึงถึง 
  (1) ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา 
(2) ความเป็นเลิศทาววิชาการควบคู่ไปกับคุณธรรมและจริยธรรม 
(3) มาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ 
(4) การนำความรู้สู่สังคมเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาสังคม 
(5) ความรับผิดชอบต่อสังคมและรัฐในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น 
(6) การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส่และตรวจสอบได้ 
(7) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร 
การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 

2. สำหรับบุคลากร 
         ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย  
           แสดงให้เห็นถึงความเท่าเทียมทางเพศอย่างแท้จริง โดยไม่มีส่วนใดที่จะระบุบ่งชี้ถึงเพศเฉพาะ หรือการปฎิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน หรือแตกต่างกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย
——————————————————————————–

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย  
           แสดงให้เห็นถึงความเท่าเทียมทางเพศอย่างแท้จริง โดยไม่มีส่วนใดที่จะระบุบ่งชี้ถึงเพศเฉพาะ หรือการปฎิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน หรือแตกต่างกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย 

ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=3161 

2564 ปริญญาตรี 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-824.pdf  นำเสนอ 1

comment
1. สำหรับนักศึกษา 
    (1) ข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา 
          – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย 
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564  
ไม่มีข้อจำกัดสำหรับเพศหญิง และบุคคลข้ามเพศ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2564-U07C-832.pdf  นำเสนอ 2
comment
2. สำหรับบุคลากร 
         ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย  
           แสดงให้เห็นถึงความเท่าเทียมทางเพศอย่างแท้จริง โดยไม่มีส่วนใดที่จะระบุบ่งชี้ถึงเพศเฉพาะ หรือการปฎิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน หรือแตกต่างกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย 


Policy created (yyyy) : 2021  นำเสนอ
Policy reviewed (yyyy) : 2023  นำเสนอ

comment:
สำหรับนักศึกษา (1) ข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564 ไม่มีข้อจำกัดสำหรับเพศหญิงและบุคคลข้ามเพศ 2. สำหรับบุคลากร ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564 ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย แสดงให้เห็นถึงความเท่าเทียมทางเพศอย่างแท้จริง โดยไม่มีส่วนใดที่จะระบุบ่งชี้ถึงเพศเฉพาะ หรือการปฎิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน หรือแตกต่างกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย
——————————————————————

หมายเหตุ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 3 การจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย
มีนโยบาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
มีการทำ/ปรับปรุงนโยบายใน 2019-2023 = 1 คะแนน 
5.6.3Maternity and paternity policies 
Have maternity and paternity policies that support women’s participation. 
1. สาระน่ารู้ “การให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่ตั้งครรภ์ในระหว่างการศึกษา” 
      –  กฎกระทรวง กำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 
       – กฎกระทรวง กำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น  (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 
 
 
2. ระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจำมหาวิทยาลัย ว่าด้วย การลาของบุคลากร พ.ศ. 2557 
      หมวด 2 ประเภทการลา ส่วนที่ 2 การลาคลอดบุตรมหาวิทยาลัยสวนดุสิตอนุญาตให้บุคลากรที่ตั้งครรภ์สามารถลาคลอดบุตรได้ก่อนวันลาด้วยตนเองหรือหากไม่สามารถมาลาด้วยตนเองก็สามารถให้ผู้อื่นลาแทนได้ 90 วัน โดยมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระหว่างการลา (ข้อ 13) 
บุคลากรที่ลาคลอดแล้วหากประสงค์จะเลี้ยงดูบุตรก็สามารถลาต่อได้โดยใช้วันลากิจ (ข้อ 14) 

https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2023/10/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B9%8C.pdf 
นำเสนอ 1

ระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจำมหาวิทยาลัย ว่าด้วย การลาของบุคลากร พ.ศ. 2557 
https://13220155-8539-29da-ebb1-b02fa4c1196a.filesusr.com/ugd/384315_04c5b165e7b24e42a13f316f47ae5605.pdf 
นำเสนอ 2

comment
1. “การให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่ตั้งครรภ์ในระหว่างการศึกษา” 
      –  กฎกระทรวง กำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 
       – กฎกระทรวง กำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น  (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 
 
 
2. ระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจำมหาวิทยาลัย ว่าด้วย การลาของบุคลากร พ.ศ. 2557 
      หมวด 2 ประเภทการลา ส่วนที่ 2 การลาคลอดบุตรมหาวิทยาลัยสวนดุสิตอนุญาตให้บุคลากรที่ตั้งครรภ์สามารถลาคลอดบุตรได้ก่อนวันลาด้วยตนเองหรือหากไม่สามารถมาลาด้วยตนเองก็สามารถให้ผู้อื่นลาแทนได้ 90 วัน โดยมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระหว่างการลา (ข้อ 13) 
บุคลากรที่ลาคลอดแล้วหากประสงค์จะเลี้ยงดูบุตรก็สามารถลาต่อได้โดยใช้วันลากิจ (ข้อ 14) 


Policy created (yyyy) : 2014  นำเสนอ
ยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน


——————————————————————————–


มหาวิทยาลัยสวนดุสิตอนุญาตให้บุคลากรที่ตั้งครรภ์สามารถลาคลอดบุตรได้ก่อนวันลาด้วยตนเองหรือหากไม่สามารถมาลาด้วยตนเองก็สามารถให้ผู้อื่นลาแทนได้ 90 วัน โดยมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระหว่างการลา (ข้อ 13) 
บุคลากรที่ลาคลอดแล้วหากประสงค์จะเลี้ยงดูบุตรก็สามารถลาต่อได้โดยใช้วันลากิจ (ข้อ 14)

ลิงก์เผยแพร่
ระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจำมหาวิทยาลัย ว่าด้วย การลาของบุคลากร พ.ศ. 2557
หมายเหตุ
หมวด 2 ประเภทการลา ส่วนที่ 2 การลาคลอดบุตร


มีนโยบาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
มีการทำ/ปรับปรุงนโยบายใน 2019-2023 = 1 คะแนน 
5.6.4Childcare facilities for students 
Have accessible childcare facilities for students which allow recent mothers to attend university  
courses. 
1. โครงการ  “BUDDY นมแม่” ณ ห้องศูนย์นมแม่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
          บุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้เกิดความขับเคลื่อนด้านต่าง ๆ ภายในองค์กร เพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานหรือทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพไม่ต้องเผชิญกับปัญหาทั้งจากการทำงาน และจากภาวะปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่อาจเกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล เช่น การเอาลูกเข้าเต้า การอุ้มลูก เต้านมคัดตึง หัวนมแตก น้ำนมไม่ไหล การบีบและเก็บน้ำนม เป็นต้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรกลุ่มดังกล่าว ควรได้รับการดูแล เอาใจใส่ ได้รับความช่วยเหลือ เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนไปรับบริการที่โรงพยาบาล และทำให้เกิดความสะดวกอีกทั้งไม่เป็นการเสียเวลาในการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลให้เกิดความพึงพอใจ ภาคภูมิใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดสายใยรัก มีความรักความอบอุ่นเกิดความผูกพันระหว่างแม่และลูก ทำให้เพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลานานขึ้น อย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และส่งผลให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อมารดา ทารก และครอบครัวต่อไป 
คณะพยาบาลศาตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการ “BUDDY นมแม่” สำหรับกลุ่มนักศึกษาพยาบาล นักเรียน นักศึกษาอื่นๆ  กลุ่มบุคลากร และกลุ่มแม่หลังคลอด บุคคลภายนอกที่สนใจ เข้าใช้บริการ  

2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งโรงเรียนละอออุทิศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดหาพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กเล็ก โดย สนามเด็กเล่นเป็นสถานที่หนึ่งที่โรงเรียนละอออุทิศให้ความสำคัญและถือเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้ออกไปนอกห้องเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย บนพื้นฐานความสนใจของเด็กแต่ละคน ความสำคัญของสนามเด็กเล่นที่มีต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ 

ลิงก์เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่  


โครงการ  “BUDDY นมแม่” 
http://nurse.dusit.ac.th/news/view?slug=news-136  นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3934/  นำเสนอ 2

comment
1. โครงการ “BUDDY นมแม่” สำหรับกลุ่มนักศึกษาพยาบาล นักเรียน นักศึกษาอื่นๆ  กลุ่มบุคลากร และกลุ่มแม่หลังคลอด บุคคลภายนอกที่สนใจ เข้าใช้บริการ 
2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งโรงเรียนละอออุทิศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดหาพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กเล็ก โดย สนามเด็กเล่นเป็นสถานที่หนึ่งที่โรงเรียนละอออุทิศให้ความสำคัญและถือเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้ออกไปนอกห้องเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย บนพื้นฐานความสนใจของเด็กแต่ละคน ความสำคัญของสนามเด็กเล่นที่มีต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ 
มีบริการ Childcare Facility สำหรับนักศึกษา  
ฟรี = 1 คะแนน 
จ่ายเงิน = 0.5 คะแนน  
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.6.5Childcare facilities for staff and faculty 
Have childcare facilities for staff and faculty 
Free

1. โครงการ  “BUDDY นมแม่” ณ ห้องศูนย์นมแม่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
          บุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้เกิดความขับเคลื่อนด้านต่าง ๆ ภายในองค์กร เพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานหรือทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพไม่ต้องเผชิญกับปัญหาทั้งจากการทำงาน และจากภาวะปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่อาจเกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล เช่น การเอาลูกเข้าเต้า การอุ้มลูก เต้านมคัดตึง หัวนมแตก น้ำนมไม่ไหล การบีบและเก็บน้ำนม เป็นต้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรกลุ่มดังกล่าว ควรได้รับการดูแล เอาใจใส่ ได้รับความช่วยเหลือ เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนไปรับบริการที่โรงพยาบาล และทำให้เกิดความสะดวกอีกทั้งไม่เป็นการเสียเวลาในการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลให้เกิดความพึงพอใจ ภาคภูมิใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดสายใยรัก มีความรักความอบอุ่นเกิดความผูกพันระหว่างแม่และลูก ทำให้เพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลานานขึ้น อย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และส่งผลให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อมารดา ทารก และครอบครัวต่อไป 
คณะพยาบาลศาตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการ “BUDDY นมแม่” สำหรับกลุ่มนักศึกษาพยาบาล นักเรียน นักศึกษาอื่นๆ  กลุ่มบุคลากร และกลุ่มแม่หลังคลอด บุคคลภายนอกที่สนใจ เข้าใช้บริการ  

2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งโรงเรียนละอออุทิศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดหาพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กเล็ก โดย สนามเด็กเล่นเป็นสถานที่หนึ่งที่โรงเรียนละอออุทิศให้ความสำคัญและถือเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้ออกไปนอกห้องเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย บนพื้นฐานความสนใจของเด็กแต่ละคน ความสำคัญของสนามเด็กเล่นที่มีต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ 

ลิงก์เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่  


โครงการ  “BUDDY นมแม่” 
http://nurse.dusit.ac.th/news/view?slug=news-136  นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3934/  นำเสนอ 2

comment
1. โครงการ “BUDDY นมแม่” สำหรับกลุ่มนักศึกษาพยาบาล นักเรียน นักศึกษาอื่นๆ  กลุ่มบุคลากร และกลุ่มแม่หลังคลอด บุคคลภายนอกที่สนใจ เข้าใช้บริการ 
2. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งโรงเรียนละอออุทิศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดหาพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กเล็ก โดย สนามเด็กเล่นเป็นสถานที่หนึ่งที่โรงเรียนละอออุทิศให้ความสำคัญและถือเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้ออกไปนอกห้องเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย บนพื้นฐานความสนใจของเด็กแต่ละคน ความสำคัญของสนามเด็กเล่นที่มีต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ 
มีบริการ Childcare Facility สำหรับ บุคลากร  
ฟรี = 1 คะแนน 
จ่ายเงิน = 0.5 คะแนน  
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.6.6Women’s mentoring schemes 
Have women’s mentoring schemes, in which at least 10% of female students participate. 
โครงการฝึกสอนสำหรับผู้หญิงที่มีนักศึกษาหญิงเข้าร่วม 
 1. การดูแลแนะแนวช่วยเหลือให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัย  ประกอบด้วย 
       (1) SDU Wellness Center  คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งศูนย์งานแนะแนวและการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา เป็นกระบวนการในการดูแลสุขภาพจิต โดยอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางจิตวิทยาจะทำงานร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาในการช่วยเหลือนักศึกษาที่ประสบปัญหาให้สามารถต่อเผชิญและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม  โดยมีทีมอาจารย์ให้คำปรึกษา จำนวน 7 คน บุคลากร จำนวน 7 คน ณ อาคาร 4 คณะครุศาสตร์ ชั้น 5 ห้อง SDU Wellness Center  สถิติการให้บริหารปรึกษาเชิงจิตวิทยา จำนวนผู้รับบริการ 57 ราย ได้แก่ ในช่องทางไลน์ จำนวน 33 ราย ทางโทรศัพท์ จำนวน 9 ราย ทางเฟสบุ๊ค จำนวน 2 ราย และช่องทางเข้ามาที่ศูนย์ จำนวน 2 ราย   
               ประเด็นขอปรึกษา ได้แก่ อารมณ์และความคิด 40 ราย เพศ 7 ราย การเรียน 15 ราย ครอบครัว 10 ราย ทำงาน 4 ราย เพื่อน 7 ราย     
        (2) การให้บริการช่วยเหลือนักศึกษา กองพัฒนานักศึกษา และศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดศูนย์ให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำหรับบริการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ณ ห้องเลขที่ 237 อาคาร 2 ชั้น 3 เปิดให้บริการทุกวันอังคาร-วันพฤหัสบดี เวลา 09.00 – 12.00 น. และ 13.00 – 16.00 น. นักศึกษาสามารถเลือกบริการได้ทั้งรูปแบบ Onsite และ Online ตามรายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์ให้คำปรึกษา โดยมีทีมอาจารย์ให้คำปรึกษา จำนวน 6 คน บุคลการ จำนวน 3 คน สถิติการใช้บริการห้องให้คำปรึกษา จำนวนผู้รับบริการ จำนวน 22 ราย ได้แก่ เพศชาย จำนวน 4 ราย เพศหญิง จำนวน 17 ราย และ LGBTQ จำนวน 1 ราย  โดยผ่านรูปแบบการให้คำปรึกษา แบบ Online จำนวน 2 ครั้ง และแบบ On-site จำนวน 15 ครั้ง  
           ประเด็นขอปรึกษา ได้แก่ ด้านการศึกษา 3 ครั้ง ด้านอาชีพ/การฝึกประสบการณ์ 5 ครั้ง และด้านส่วนตัวและสังคม 14 ครั้ง          





1. การดูแลแนะแนวช่วยเหลือให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัย  ประกอบด้วย 
       (1) SDU Wellness Center  คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งศูนย์งานแนะแนวและการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา เป็นกระบวนการในการดูแลสุขภาพจิต โดยอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางจิตวิทยาจะทำงานร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาในการช่วยเหลือนักศึกษาที่ประสบปัญหาให้สามารถต่อเผชิญและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม  โดยมีทีมอาจารย์ให้คำปรึกษา จำนวน 7 คน บุคลากร จำนวน 7 คน ณ อาคาร 4 คณะครุศาสตร์ ชั้น 5 ห้อง SDU Wellness Center  สถิติการให้บริหารปรึกษาเชิงจิตวิทยา จำนวนผู้รับบริการ 57 ราย ได้แก่ ในช่องทางไลน์ จำนวน 33 ราย ทางโทรศัพท์ จำนวน 9 ราย ทางเฟสบุ๊ค จำนวน 2 ราย และช่องทางเข้ามาที่ศูนย์ จำนวน 2 ราย   
               ประเด็นขอปรึกษา ได้แก่ อารมณ์และความคิด 40 ราย เพศ 7 ราย การเรียน 15 ราย ครอบครัว 10 ราย ทำงาน 4 ราย เพื่อน 7 ราย     
 
 
 
 
 
 
 
 
 
       (2) การให้บริการช่วยเหลือนักศึกษา กองพัฒนานักศึกษา และศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดศูนย์ให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำหรับบริการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ณ ห้องเลขที่ 237 อาคาร 2 ชั้น 3 เปิดให้บริการทุกวันอังคาร-วันพฤหัสบดี เวลา 09.00 – 12.00 น. และ 13.00 – 16.00 น. นักศึกษาสามารถเลือกบริการได้ทั้งรูปแบบ Onsite และ Online ตามรายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์ให้คำปรึกษา โดยมีทีมอาจารย์ให้คำปรึกษา จำนวน 6 คน บุคลการ จำนวน 3 คน สถิติการใช้บริการห้องให้คำปรึกษา จำนวนผู้รับบริการ จำนวน 22 ราย ได้แก่ เพศชาย จำนวน 4 ราย เพศหญิง จำนวน 17 ราย และ LGBTQ จำนวน 1 ราย  โดยผ่านรูปแบบการให้คำปรึกษา แบบ Online จำนวน 2 ครั้ง และแบบ On-site จำนวน 15 ครั้ง  
           ประเด็นขอปรึกษา ได้แก่ ด้านการศึกษา 3 ครั้ง ด้านอาชีพ/การฝึกประสบการณ์ 5 ครั้ง และด้านส่วนตัวและสังคม 14 ครั้ง   
 
ข้อนี้แก้มาไม่ตรงกับที่ให้ข้อเสนอแนะไป จะเป็นโครงการอบรมในลักษณะ mentor อะไรก็ได้ แต่ผู้เข้าร่วมต้องเป็นผู้หญิงไม่น้อยกว่า 10%ข้อนี้ให้พิจารณาใหม่ค่ะ 
 
 
 
 
แก้ไข 3-11-2566 ตามข้อเสนอแนะ 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษา (เพื่อนผู้ให้   คำปรึกษา : Peer Counselor) จัดโดยกองพัฒนานักศึกษา ศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ และ หลักสูตรจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  
       จัดอบรมระหว่างวันที่ 30 – 31 มีนาคม 2566 ได้รับเกียรติ รองศาสตราจารย์พัชรี สวนแก้ว รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา เป็นประธานเปิดและมอบวุฒิบัตรให้กับนักศึกษาที่เข้ารับการอบรม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเกิดความตระหนักในคุณค่า และหน้าที่ของการให้คำปรึกษาแก่เพื่อนนักศึกษา นักศึกษามีความรู้ การปฏิบัติที่ถูกต้องในบทบาทการเป็นผู้ให้คำปรึกษา และคอยสังเกตุพฤติกรรมที่ผิดปกติของเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน สอดคล้องตามหลักการ 3 ส.(การปฐมพยาบาลทางใจ) คือ สอดส่อง มองหา (Look) ใส่ใจ รับฟัง (Listen) และส่งต่อ เชื่อมโยง (Link) มีเป้าหมายในการป้องกันนักศึกษาจากปัญหาต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ทั้งปัญหาทางด้านการศึกษา ปัญหาการเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ ปัญหาส่วนตัว และการปรับตัวเข้าสู่สังคมได้อย่างเหมาะสม  
     จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน  27  คน เป็นเพศหญิง 17 คน คิดเป็นร้อย 62.97 และเพศชาย 10 คน  คิดเป็นร้อยละ 37.03  
 
2. มหาวิทยาลัยกำหนดให้จัดทำประกันอุบัติเหตุ ให้กับนักศึกษาทุนคนของระดับปริญญาตรี ภาคปกติทุกระบบ โดย  
          การคุ้มครองและค่าตอบแทน 
1. คุ้มครองอุบัติเหตุทั่วโลก ตลอด 24 ชั่วโมง  ตลอดระยะเวลาที่ทำประกัน 
2. ค่าตอบแทนสูงสุด 120,000 บาท (กรณีเสียชีวิต) 
3. ค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 10,000 บาท : 1 ครั้ง 


การดูแลแนะแนวช่วยเหลือให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัย 
https://guidance.dusit.ac.th/WEB/%e0%b9%81%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%94%e0%b8%b3%e0%b9%80%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%94%e0%b8%b9%e0%b9%81%e0%b8%a5  https://www.dusit.ac.th/home/2023/1083344.html  นำเสนอ 1
การประกันอุบัติเหตุ คู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 หน้า 26 และ 63 
https://online.pubhtml5.com/dqca/onnf/ 
https://online.pubhtml5.com/dqca/onnf/#p=2 นำเสนอ 2

comment
1.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษา (เพื่อนผู้ให้ คำปรึกษา : Peer Counselor) จัดโดยกองพัฒนานักศึกษา ศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ และ หลักสูตรจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 27 คน เป็นเพศหญิง 17 คน คิดเป็นร้อย 62.97 และเพศชาย 10 คน คิดเป็นร้อยละ 37.03
มหาวิทยาลัยกำหนดให้จัดทำประกันอุบัติเหตุ ให้กับนักศึกษาทุนคนของระดับปริญญาตรี ภาคปกติทุกระบบ

———————————————————————————-
1. SDU Wellness Center 
     คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งศูนย์งานแนะแนวและการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา เป็นกระบวนการในการดูแลสุขภาพจิต โดยอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางจิตวิทยาจะทำงานร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาในการช่วยเหลือนักศึกษาที่ประสบปัญหาให้สามารถต่อเผชิญและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
ลิงก์เผยแพร่
https://shorturl.asia/bR9eO


2. การให้บริการช่วยเหลือนักศึกษา 
    กองพัฒนานักศึกษา และศูนย์สนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดศูนย์ให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำหรับบริการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ณ ห้องเลขที่ 237 อาคาร 2 ชั้น 3 เปิดให้บริการทุกวันอังคาร-วันพฤหัสบดี เวลา 09.00 – 12.00 น. และ 13.00 – 16.00 น. นักศึกษาสามารถเลือกบริการได้ทั้งรูปแบบ Onsite และ Online 
ลิงก์เผยแพร่
การดูแลแนะแนวช่วยเหลือให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัย 
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1062122.html 
มีโครงการ = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.6.7Track women’s graduation rate 
Have measurement or tracking of women’s likelihood of graduating compared to men’s, and schemes in place to close any gap. 
ติดตามการสำเร็จการศึกษาของผู้หญิง  
1. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต  โดยสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานในการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษและสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างประเทศ  การจัดอบรมภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา บุคลากร และบุคคลภายนอก  การจัดสอบวัดสัมฤทธิภาพด้านภาษาอังกฤษ (TOEIC และ SDU–TEST)  
       ซึ่งในปี 2565  มีนักศึกษาเข้าทดสอบความรู้ความสามารถภาษาอังฤษ จำนวน 1,745 คน โดยผลการทดสอบมีนักศึกษาผ่านเงื่อนไข จำนวน 1,424 คน ประกอบด้วย เพศหญิง 1,040 คน เพศชาย 384 คน และนักศึกษาที่ไม่ผ่านเงื่อนไข  จำนวน 321  คน  ประกอบด้วย เพศหญิง  218 คน   เพศชาย 103 คน 
       โดยสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการอบรมคอร์สภาษาอังกฤษ การสอบ TOEIC และการสอบ SDU–TEST  ผ่านช่องทาง  FACE BOOK : Ilac Suandusit University และเว็บไซต์ https://ilac.dusit.ac.th  
2. มหาวิทยาลัยมีระบบที่จะใช้ในการติดตามนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่กำลังศึกษาได้แบบรายบุคคล ผ่านระบบที่ชื่อว่าระบบบริหารการศึกษา (Academic) ซึ่งจะมีข้อมูลของนักศึกษารายบุคคลที่แสดงถึงประวัติการศึกษาและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง ทำให้มหาวิทยาลัยสามารถดูแลนักศึกษาทุกคนได้อย่างทั่วถึง ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา  
และข้อมูลสรุปภาพรวมการจัดการศึกษาและข้อมูลสถิต่างๆ จะถูกนำไปเผยแพร่ใน ระบบข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Dusit Data Center) เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรมหาวิทยาลัยได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้ต่อไป

ลิงก์เผยแพร่
https://ilac.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/language-testing-report.pdf นำเสนอ 1
ระบบข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
https://datacenter.dusit.ac.th/cds/main  นำเสนอ 2

comment
1. สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม ติดตามการสอบภาษาอังกฤษเพื่อการจบการศึกษาประกาศรายชื่อผู้ผ่านการอบรมคอร์สภาษาอังกฤษ การสอบ TOEIC และการสอบ SDU–TEST ซึ่งในปี 2565 มีนักศึกษาเข้าทดสอบความรู้ความสามารถภาษาอังฤษ จำนวน 1,745 คน โดยผลการทดสอบมีนักศึกษาผ่านเงื่อนไข จำนวน 1,424 คน ประกอบด้วย เพศหญิง 1,040 คน เพศชาย 384 คน และนักศึกษาที่ไม่ผ่านเงื่อนไข จำนวน 321 คน ประกอบด้วย เพศหญิง 218 คน เพศชาย 103 คน
2. มหาวิทยาลัยมีระบบที่จะใช้ในการติดตามนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่กำลังศึกษาได้แบบรายบุคคล ผ่านระบบที่ชื่อว่าระบบบริหารการศึกษา (Academic) ซึ่งจะมีข้อมูลของนักศึกษารายบุคคลที่แสดงถึงประวัติการศึกษาและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง ทำให้มหาวิทยาลัยสามารถดูแลนักศึกษาทุกคนได้อย่างทั่วถึง ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา
และข้อมูลสรุปภาพรวมการจัดการศึกษาและข้อมูลสถิต่างๆ จะถูกนำไปเผยแพร่ใน ระบบข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Dusit Data Center) เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรมหาวิทยาลัยได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้ต่อไป
——————————————————————————————–


    มหาวิทยาลัยมีระบบที่จะใช้ในการติดตามนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่กำลังศึกษาได้แบบรายบุคคล ผ่านระบบที่ชื่อว่าระบบบริหารการศึกษา (Academic) ซึ่งจะมีข้อมูลของนักศึกษารายบุคคลที่แสดงถึงประวัติการศึกษาและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง ทำให้มหาวิทยาลัยสามารถดูแลนักศึกษาทุกคนได้อย่างทั่วถึง ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา  
และข้อมูลสรุปภาพรวมการจัดการศึกษาและข้อมูลสถิต่างๆ จะถูกนำไปเผยแพร่ใน ระบบข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Dusit Data Center) เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรมหาวิทยาลัยได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้ต่อไป 
หลักฐาน
ระบบบริหารการศึกษา
ระบบข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
มีการวัดและติดตามผล = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
5.6.8Policies protecting those reporting discrimination 
Have a policy that protects those reporting discrimination from educational or employment disadvantage 
1. นักศึกษา 
     มหาวิทยาลัยมีข้อบังคับที่เกี่ยวข้องสำหรับนักศึกษาเกี่ยวกับสิทธิ์อุทธรณ์ และความคุ้มครอง 
    – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย จรรยาบรรณและวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2561 หมวด 4 การอุทธณ์ 
    – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย ธรรมนูญนักศึกษา พ.ศ. 2561 
 2. บุคลากร 
       มหาวิทยาลัยได้กำหนดให้บุคลากรที่ได้รับการปฏิบัติแบบไม่เป็นธรรม หรือมีความคับข้องใจ สามารถอุทธรณ์ร้องทุกข์ได้ภายในสามสิบวันที่ได้รับข่าว 
      ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 11 อุทธรณ์และร้องทุกข์ 
      – คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์การบริหารงานบุคคล 
        หน้าที่   คณะกรรมการฯ มีอำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 

จรรยาบรรณและวินัยนักศึกษา 
https://sdulaw.dusit.ac.th/wp-content/regular/file/2561-U11C-681.pdf  นำเสนอ 1
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=3161 
https://pdpa.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2022/08/data_protection_policy_01.pdf นำเสนอ 2

comment
1. นักศึกษา 
     มหาวิทยาลัยมีข้อบังคับที่เกี่ยวข้องสำหรับนักศึกษาเกี่ยวกับสิทธิ์อุทธรณ์ และความคุ้มครอง 
    – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย จรรยาบรรณและวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2561 หมวด 4 การอุทธณ์ 
2. ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2565  
       ข้อ  6 ข้อมูลส่วนบุคคลที่มหาวิทยาลัย เก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย 
        มหาวิทยาลัยจะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นข้อมูลที่ทำให้สามารถระบุตัวตนของท่านได้ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ได้แก่ ข้อมูลที่ท่านให้ไว้โดยตรงจากการลงทะเบียนผ่านระบบสมัครต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย การลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย คุกกี้ ข้อมูลการทำรายการ และประสบการณ์การใช้งานผ่านหน้าเว็บไซต์ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย หรือช่องทางอื่นใด

Policy created (yyyy) : 2018  นำเสนอ
ยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน

————————————————————————
1. มหาวิทยาลัยได้กำหนดให้บุคลากรที่ได้รับการปฏิบัติแบบไม่เป็นธรรม หรือมีความคับข้องใจ สามารถอุทธรณ์ร้องทุกข์ได้ภายในสามสิบวันที่ได้รับข่าว 
      ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2564​ ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 หมวด 11 อุทธรณ์และร้องทุกข์ 
      – คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์การบริหารงานบุคคล 
        หน้าที่   คณะกรรมการฯ มีอำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 
ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/?p=3161 
มีนโยบาย = 1 คะแนน 
มีหลักฐาน  = 1 คะแนน 
มีการเผยแพร่หลักฐานในที่สาธารณะ  = 1 คะแนน 
มีการทำ/ปรับปรุงนโยบายใน 2019-2023 = 1 คะแนน 
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17