เป้าหมาย-14 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนal

14

ชีวิตในน้ำ

อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.

No.IndicatorResult
14.2Fresh-water ecosystems (community outreach)  
14.2.1Offer educational programmes on fresh-water ecosystems (water irrigation practices, water management/conservation) for local or national communities 
Up to three points based on:  
• Existence of programmes – maximum one point for free, 0.25 points for paid only  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one pointเสนอโปรแกรมการศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศน้ำจืด (แนวทางปฏิบัติในการชลประทานน้ำ การจัดการ/การอนุรักษ์น้ำ) สำหรับชุมชนท้องถิ่นหรือระดับชาติ 
14.2.1.1 การจัดทำคู่มือการบูรณาการกับการประมงและการรักษาระบบนิเวศทางทะเลที่ยั่งยืน เกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา ให้ความรู้แก่ท้องถิ่นและกรมการท่องเที่ยว  

หลักฐาน
14.2.1.1 การจัดทำคู่มือการบูรณาการกับการประมงและการรักษาระบบนิเวศทางทะเลที่ยั่งยืน เกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา ให้ความรู้แก่ท้องถิ่นและกรมการท่องเที่ยว  

ลิงก์เผยแพร่
 14.2.1.1 การจัดทำคู่มือการบูรณาการกับการประมงและการรักษาระบบนิเวศทางทะเลที่ยั่งยืน เกาะยาวน้อย ให้ความรู้แก่ท้องถิ่นและกรมการท่องเที่ยว นำเสนอ 1
————————————————————————————————-

14.2.1.2 การให้ความรู้ก่อนและหลังลงพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ทั้งด้านการใช้พลังงานหมุนเวียน การจัดการน้ำที่เป็นระบบนิเวศน้ำจืด การจัดการขยะ การลดก๊าซเรือนกระจก และการลดภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 

หลักฐาน
14.2.1.2 การให้ความรู้ก่อนและหลังลงพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment 

ลิงก์เผยแพร่
โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างรู้คุณค่า (Demand Side Management) ส่งเสริมให้สมาชิกในองค์กร ใช้น้ำอย่างประหยัดและรู้คุณค่า โดยใช้หลัก 3R – Reduce Reuse Recycle 
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1150498.html  นำเสนอ 2
14.2.2Sustainable fisheries (community outreach) 
Offer educational programmes or outreach for local or national communities on sustainable management of fisheries, aquaculture and tourism  
Up to three points based on:  
• Existence of programmes – maximum one point for free, 0.25 points for paid only  
• Evidence provided – up to one  
point  
• Is the evidence provided public – one point 
เสนอโปรแกรมการศึกษาหรือการขยายงานสำหรับชุมชนท้องถิ่นหรือระดับชาติเกี่ยวกับการจัดการประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 
14.2.2.1 การถ่ายทอดองค์ความรู้ในงานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม โดยการหาวิธีการที่สามารถขนส่งกุ้งก้ามกรามมีชีวิตไปยังพื้นที่อยู่ห่างไกลจากพื้นที่เพาะเลี้ยงได้ โดยที่กุ้งก้ามกรามยังคงมีอัตราการรอดชีวิตสูงหลังปล่อยลงสู่บ่อพักที่จุดหมายปลายทาง ให้กับสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งนครปฐม ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมในการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การทำธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืนและยังสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งอีกด้วย 

หลักฐาน
14.2.2.1 รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม 

ลิงก์เผยแพร่
14.2.2.1 รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม
https://sdg.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/10/ProgressReport-A17F650106.pdf นำเสนอ 1

14.2.2.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว และให้ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ทั้ง 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง และเป็นตัวแทนของจังหวัด และชุมชน
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/CBT-SDG.pdf นำเสนอ 2
14.2.3Overfishing (community outreach) 
Offer educational outreach activities for local or national communities to raise awareness about overfishing, illegal, unreported and unregulated fishing and destructive fishing practices Up to three points based on:  
• Existence of activities – maximum one point for free, 0.25 points for paid only  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
เสนอกิจกรรมให้ความรู้แก่ชุมชนท้องถิ่นหรือระดับชาติเพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการทำประมงเกินขนาด การทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม และการปฏิบัติประมงแบบทำลายล้าง 
14.2.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง 

หลักฐาน
– แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง

ลิงก์เผยแพร่
14.2.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3691/  นำเสนอ 1

14.2.3.2 การพัฒนาบทบาทภาคประชาสังคมเพื่อส่งเสริมสิทธิชุมชนประมงพื้้นบ้านอย่่างยั่่งยืน กรณีศึกษา ชุุมชนประมงพื้้นบ้านอ่าวอุดม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
http://www.graduate.dusit.ac.th/journal/index.php/sdujournal/article/view/1496  นำเสนอ 2
14.3Supporting aquatic ecosystems through action 
14.3.1Conservation and sustainable utilisation of the oceans (events) 
Support or organise events aimed to promote conservation and sustainable utilisation of the oceans, seas, lakes, rivers and marine resources  
Up to three points based on:  
• Existence of events – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
สนับสนุนหรือจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของมหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ แม่น้ำ และทรัพยากรทางทะเล 
14.3.1.1 กิจกรรมจิตอาสาในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำ โดยโรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ดำเนินการโครงการเสริมสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมวิ่งเก็บขยะชายหาดแม่รำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

หลักฐาน
14.3.1.1 โครงการเสริมสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมวิ่งเก็บขยะชายหาดแม่รำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยโรงเรียนกฎหมายและการเมือง  
14.3.1.2 กิจกรรมจิตอาสาในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำของชมรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 

ลิงก์เผยแพร่
14.3.1.1 โครงการเสริมสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมวิ่งเก็บขยะชายหาดแม่รำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยโรงเรียนกฎหมายและการเมือง
https://slp.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/10/กิจกรรมการเสริมสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม.pdf นำเสนอ 1

14.3.1.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในการการบำบัดน้ำเสีย
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/wastewater-SDG.pdf นำเสนอ 2
14.3.2Food from aquatic ecosystems (policies) 
Have a policy to ensure that food on campus that comes from aquatic ecosystems is sustainably harvested Up to four points based on:  
• Existence of policy – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point • Is policy created or reviewed in period 2018-2022 – one point 
มีนโยบายเพื่อให้แน่ใจว่าอาหารในมหาวิทยาลัยที่มาจากระบบนิเวศทางน้ำนั้นเก็บเกี่ยวได้อย่างยั่งยืน 
14.3.2.1 นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environmental-quality-management-policy-2565.pdf นำเสนอ 1

14.3.2.2 แหล่งที่มาของอาหาร การประกอบอาหาร การจัดหา และการใช้วัตถุดิบ(ไฟล์ PDF)
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/food-select-source.pdf
นำเสนอ 2

Comment: 
นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัย 
สวนดุสิต ปี 2565 เพิ่มเป็นข้อที่ 2 การสรรหาแหล่งอาหารที่ได้มาตรฐาน การประกอบอาหารที่ปราศจากสิ่งเจือปนในทุกขั้นตอน จากท้องถิ่นที่มีกระบวนการผลิตอย่างยั่งยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค 

Policy created (yyyy) : 2021   นำเสนอ
Policy reviewed (yyyy) : 2022   นำเสนอ
ยังคงบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน   นำเสนอ
14.3.3Maintain ecosystems and their biodiversity (direct work) 
Work directly (research and/or engagement with industries) to maintain and extend existing ecosystems and their biodiversity, of both plants and animals, especially ecosystems under threat 
Up to three points based on:  
• Existence of direct work – one point • Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
ทำงานโดยตรง (วิจัยและ/หรือมีส่วนร่วมกับอุตสาหกรรม) เพื่อรักษาและขยายระบบนิเวศที่มีอยู่และความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบนิเวศที่อยู่ภายใต้การคุกคาม 
14.3.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง เพื่อรักษาระบบนิเวศของอ่าวเพ จังหวัดระยอง 
14.3.3.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว และให้ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ การรักษาระบบนิเวศเกาะยาวเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของนกเงือก
  
หลักฐาน
14.3.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง 

ลิงก์เผยแพร่

14.3.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3691/ นำเสนอ 1

14.3.3.2 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.-มสด.)
https://rspg.dusit.ac.th/66/rspg-project/ นำเสนอ 2
14.3.4Technologies towards aquatic ecosystem damage prevention (direct work) 
Work directly (research and/or engagement with industries) on technologies or practices that enable marine industry to minimise or prevent damage to aquatic ecosystems 
ทำงานโดยตรง (วิจัยและ/หรือมีส่วนร่วมกับอุตสาหกรรม) เกี่ยวกับเทคโนโลยีหรือแนวปฏิบัติที่ช่วยให้อุตสาหกรรมทางทะเลสามารถลดหรือป้องกันความเสียหายต่อระบบนิเวศทางน้ำ 
14.3.4.1 การถ่ายทอดองค์ความรู้ในงานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม โดยการหาวิธีการที่สามารถขนส่งกุ้งก้ามกรามมีชีวิตไปยังพื้นที่อยู่ห่างไกลจากพื้นที่เพาะเลี้ยงได้ โดยที่กุ้งก้ามกรามยังคงมีอัตราการรอดชีวิตสูงหลังปล่อยลงสู่บ่อพักที่จุดหมายปลายทาง ให้กับสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งนครปฐม ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมในการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การทำธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืนและยังสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งอีกด้วย โดยจะไม่ไปลายทรัพยากรป่าชายเลน 

14.3.4.2 ตัวแบบการพัฒนานโยบายการจัดการท่าเรือน้ำลึกเพื่อการสร้างความยั่งยืนแก่สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง กรณีศึกษา ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี  

หลักฐาน
14.3.4.1 รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม 


ลิงก์เผยแพร่
14.3.4.1 ตัวแบบการพัฒนานโยบายการจัดการท่าเรือน้ำลึกเพื่อการสร้างความยั่งยืนแก่สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง กรณีศึกษา ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี  (บทความวิจัย)  
 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/polscicmujournal/article/view/243348  นำเสนอ 1

14.3.4.2 รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตกุ้งก้ามกราม
https://sdg.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/10/ProgressReport-A17F650106.pdf นำเสนอ 2
Up to three points based on: • Existence of direct work – one point • Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
14.4Water sensitive waste disposal 
14.4.1Water discharge guidelines and standards 
Have water quality standards and guidelines for water discharges (to uphold water quality in order to protect ecosystems, wildlife, and human health and welfare) 
มีมาตรฐานคุณภาพน้ำและแนวทางการปล่อยน้ำ (เพื่อรักษาคุณภาพน้ำเพื่อปกป้องระบบนิเวศ สัตว์ป่า และสุขภาพและสวัสดิภาพของมนุษย์) 
14.4.1.1 ระบบป้องกันและบำบัดสารมลพิษที่ปนเปื้อนลงสู่สิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  
14.4.1.2 มาตรการในการจัดการคุณภาพน้ำให้ได้มาตรฐานคุณภาพน้ำก่อนปล่อยระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม 

ลิงก์เผยแพร่
14.4.1.1 แนวปฏิบัติระบบน้ำใช้ น้ำดื่ม ระบบการจัดการน้ำเสีย และการป้องกันสารมลพิษ 
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/water-anddrinkwater-system.pdf 
นำเสนอ 1

14.4.1.2  ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในการการบำบัดน้ำเสีย 
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/wastewater-SDG.pdf  นำเสนอ 2
Up to three points based on:  
• Existence of standards and guidelines – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
14.4.2Action plan to reducing plastic waste 
Have an action plan in place to reduce plastic waste on campus 
Up to three points based on: • Existence of plan – one point • Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
14.4.2.1 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของการลดปริมาณของเสียของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (รวมลดขยะพลาสติก) ในมหาวิทยาลัย  

ลิงก์เผยแพร่
14.4.2.1 การลดขยะปริมาณการใช้พลาสติก
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/reducing-plastic.pdf นำเสนอ 1

14.4.2.2 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf นำเสนอ 2
14.4.3Reducing marine pollution (policy) 
Have a policy on preventing and reducing marine pollution of all kinds, in particular from land-based activities Up to four points based on:  
• Existence of policy – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point  
• Is policy created or reviewed in period 2017-2021 – one point 
มีนโยบายป้องกันและลดมลพิษทางทะเลทุกชนิด โดยเฉพาะจากกิจกรรมบนบก 
14.4.3.1 นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565 เพิ่มเป็นข้อที่ 3 มุ่งสร้างจิตสำนึก ให้ความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักศึกษา บุคลากร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการตามหลักการ 3R คือ Reduce (ลดการใช้หรือใช้น้อยเท่าที่จำเป็น) Reuse (การใช้ซ้ำ) และ Recycle (แปรรูปมาใช้ใหม่) เพื่อลดปริมาณของเสียและของเสียอันตราย โดยเฉพาะการลดการใช้พลาสติกจากต้นทาง เป็นการลดภาระการกำจัดขั้นสุดท้าย 

ลิงก์เผยแพร่
14.3.3.1 นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environmental-quality-management-policy-2565.pdf
นำเสนอ 1

14.3.3.2 แนวปฏิบัติการจัดการของเสียและของเสียอันตราย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/harzadouswaste-system.pdf
นำเสนอ 2

comment
นโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของหาวิทยาลัย 
สวนดุสิต ปี 2565 ข้อที่ 6 ระบุอยู่ในวัตถุประสงค์ข้อ 1.2 หน้าที่ 1 ของแนวปฏิบัติการจัดการของเสียและของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

Policy created (yyyy) : 2021   นำเสนอ
Policy reviewed (yyyy) : 2022   นำเสนอ
ยังคงบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน   นำเสนอ
14.5Maintaining a local ecosystem 
14.5.1Minimizing alteration of aquatic ecosystems (plan) 
Have a plan to minimise physical, chemical and biological alterations of related aquatic ecosystems  
Up to three points based on:  
• Existence of plan – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
มีแผนที่จะลดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของระบบนิเวศทางน้ำที่เกี่ยวข้อง 
14.5.1.1 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของการลดปริมาณสารมลพิษทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ในระบบนิเวศทางน้ำของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต  

ลิงก์เผยแพร่
14.5.1.1 แผนการจัดการคุณภาพส่ิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf
นำเสนอ 1

14.5.1.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในการการบำบัดน้ำเสีย
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/wastewater-SDG.pdf นำเสนอ 2
14.5.2Monitoring the health of aquatic ecosystems 
Monitor the health of aquatic ecosystems  
Up to three points based on: • Existence of monitoring – one point • Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
14.5.2.1 แผนปฏิบัติการและค่าเป้าหมายของการลดปริมาณสารมลพิษทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ในระบบนิเวศทางน้ำของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 
14.5.2.2 รายงานการติดตามสารมลพิษทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ในระบบนิเวศทางน้ำของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

ลิงก์เผยแพร่
14.5.2.1 แผนการจัดการคุณภาพส่ิ่งแวดล้อม พลังงานและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2565
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/environment-energy-resourse-plan-2565.pdf
นำเสนอ 1

14.5.2.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในการการบำบัดน้ำเสีย
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/wastewater-SDG.pdf นำเสนอ 2
14.5.3Programmes towards good aquatic stewardship practices 
Develop and support programmes and incentives that encourage and maintain good aquatic stewardship practices 
Up to three points based on:  
• Existence of programmes – maximum one point for ongoing, 0.25 points for ad-hoc only  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
พัฒนาและสนับสนุนโปรแกรมและสิ่งจูงใจที่ส่งเสริมและรักษาแนวทางปฏิบัติในการดูแลสัตว์น้ำที่ดี 

14.5.2.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง เพื่อรักษาระบบนิเวศของอ่าวเพ จังหวัดระยอง 
14.5.2.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว และให้ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ การรักษาระบบนิเวศเกาะยาว  

หลักฐาน
14.5.2.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง 
14.5.2.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว

ลิงก์เผยแพร่
114.5.2.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง  
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3691/  นำเสนอ 1
 
 14.5.2.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/CBT-SDG.pdf  นำเสนอ 2
14.5.4Collaboration for shared aquatic ecosystem 
Collaborate with the local community in efforts to maintain shared aquatic ecosystems  
Up to three points based on:  
• Existence of collaboration – one point  
• Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
ร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่นเพื่อรักษาระบบนิเวศทางน้ำที่ใช้ร่วมกัน 
14.5.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง เพื่อรักษาระบบนิเวศของอ่าวเพ จังหวัดระยอง 
14.5.3.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว และให้ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ การรักษาระบบนิเวศเกาะยาว  

หลักฐาน
14.5.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง 
14.5.3.2 โครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment ของกรมการท่องเที่ยว

ลิงก์เผยแพร่
14.5.3.1 แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็ก บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา อ่าวเพ จังหวัดระยอง  
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3691/  นำเสนอ 1
 
14.5.3.2 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/CBT-SDG.pdf 
นำเสนอ 2
14.5.5Watershed management strategy 
Have implemented a watershed management strategy based on location specific diversity of aquatic species  
Up to three points based on: • Existence of strategy – one point • Evidence provided – up to one point • Is the evidence provided public – one point 
ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการลุ่มน้ำตามที่ตั้งเฉพาะความหลากหลายของพันธุ์สัตว์น้ำ 
14.5.4.1 การจัดการลุ่มน้ำท่าจีนหรือ แม่น้ำสุพรรณบุรี และคลองบางปลาม้า ของชุมชนบ้านแหลมสุพรรณบุรี เพื่อจัดการปลาม้า และผักตับเต่าน้ำ ของโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment  
14.5.4.2 บริการวิชาการและวิจัยให้กับโครงการห้วยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี การศึกษาชนิดและปริมาณตะกอนของฝายชะลอความชุ่มชื้น ลุ่มน้ำห้วยพระปรง และลุ่มน้ำห้วยโสมง ช่วยอนุรักษ์ คอนแคน ไม้ริมน้ำ 

หลักฐาน
14.5.4.1 การจัดการลุ่มน้ำท่าจีนหรือ แม่น้ำสุพรรณบุรี และคลองบางปลาม้า ของชุมชนบ้านแหลมสุพรรณบุรี เพื่อจัดการปลาม้า และผักตับเต่าน้ำ ของโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment 

ลิงก์เผยแพร่
14.5.4.1 ภาพข่าวกิจกรรมเด่น Green & Clean University : สวนดุสิตกับโครงการส่งเสริมชุมชนท่องเที่ยว ทั่วประเทศ เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ CBT Smart Environment
https://sduzerowaste.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2023/11/CBT-SDG.pdf นำเสนอ 1

14.5.4.2 กิจกรรมหลักสูตรอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณภัยและการส่งเสริมการจัดการน้ำโดยใช้ฝายชะลอน้ำ
https://sdg.dusit.ac.th/2023/4748/ นำเสนอ 2
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17