เป้าหมาย-17 ประจำปี 2565 – 2566

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

17 ร่วมมือเพื่อพิชิตเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ยกระดับแนวทางการดำเนินงาน และสร้างเสริมการเป็นพันธมิตรระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.

No.IndicatorResult
17.2Relationships to support the goals
17.2.1Relationships with NGOs and government for SDG policy17.2.1.1 โครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงาน ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มหาวิทยาลัยสวนดุสิตร่วมมือกับกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (TICA) ดำเนินโครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มีการร่วมมือในการร่วมวางแผนการดำเนินงาน 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ในการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษาพิเศษ หลังจากเสร็จสิ้นการอบรม บุคลากร ผู้เข้าอบรมได้นำความรู้ไปพัฒนางานด้านการศึกษาพิเศษ ของ สปป. ลาว โดยบุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเดินทางไป สปป. ลาว เพื่อนิเทศติดตามผู้ผ่านการอบรมเป็นรายบุคคล โดยให้ข้อเสนอแนะ เทคนิควิธีการในการจัดการส่งเสริมและพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ในบริบทของ สปป. ลาว รวมทั้งได้มีการเข้าพบผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการและกีฬาเพื่อรับทราบสภาพปัญหาและความต้องการในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ รวมถึงการหารือเกี่ยวกับการจัดให้มีกฎหมายและนโยบายในการจัดการศึกษาพิเศษ เพื่อให้การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและเด็กด้อยโอกาสใน สปป.ลาว ได้รับการศึกษา 

ลิงก์เผยแพร่
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212  นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
17.2.1.5 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม ได้เข้าร่วมการประชุม Focus Group เพื่อให้ความคิดเห็นต่อ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy มีการนำเสนอ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy ที่ได้มีการปรับปรุงจากฉบับเดิม และนำเสนอข้อคิดเห็นเพื่อนำไปปรับปรุงหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy ให้สามารถนำไปใช้ตรวจประเมินเพื่อให้การรับรองผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ผลิตสินค้าจากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานการอนุรักษ์ ตามหลักการ สพภ. 3 ประการ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ภายใต้ “หลักการ BEDO – BCG”  ซึ่งการประชุมฯ ดำเนินการภายใต้ “โครงการพัฒนาหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy” ทางสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม จากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาโครงการในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมปีติพงศ์ พึ่งบุญ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 
ข้อมูล ณ ปีการศึกษา 2565  
(วันที่ 31 มีนาคม 2566) 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2023/2553 นำเสนอ 2
17.2.2Cross sectoral dialogue about SDGs17.2.2.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน (คปอ.)  
ได้จัดกิจกรรม “Net Zero in Actions: แนวทางและปัจจัยความสำเร็จของมหาวิทยาลัยไทย” เพื่อสร้างองค์ความรู้ 
ด้านความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซ 
เรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) แก่นักศึกษาและบุคลากร  
เพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้ง บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และศูนย์การศึกษา ในการร่วมกันพัฒนาเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก 
จากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญของการพัฒนามหาวิทยาลัยที่สวยงาม สะอาด ปลอดภัย (Green & Clean University) ตามทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว (SDU direction: Small but Smart) โดยได้จัดเวทีเสวนาแบ่งปันองค์ความรู้ในมิติมุมมองภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดย  
คุณนารีรัตน์ ธนะเกษม ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาศักยภาพและเผยแพร่องค์ความรู้องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ดร.ณัฐกร ไกรกุล ผู้จัดการฝ่าย Decarbonization Center of Excellence บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และคุณเปรม  
พฤกษ์ทยานนท์ กรรมการผู้จัดการบริษัทกรีนทูเก็ต จำกัด และเจ้าของเพจลุงซาเล้งกับขยะที่หายไป ณ ห้องประชุมอาคารสำนักงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ชั้น 5 
ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธ.ค. 2565

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1032155.html  นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
17.2.2.2 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต  
โดยสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม 
ได้เข้าร่วมการประชุม Focus Group เพื่อให้ความคิดเห็นต่อ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy มีการนำเสนอ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนด 
การรับรองตรา BioEconomy ที่ได้มีการปรับปรุงจากฉบับเดิม และนำเสนอข้อคิดเห็นเพื่อนำไปปรับปรุงหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy ให้สามารถนำไปใช้ตรวจประเมินเพื่อให้การรับรองผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ผลิตสินค้าจาก 
ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานการอนุรักษ์ ตามหลักการ สพภ. 3 ประการ ซึ่งสอดคล้องกับ 
แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ภายใต้ “หลักการ BEDO – BCG”  
ซึ่งการประชุมฯ ดำเนินการภายใต้ “โครงการพัฒนาหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy” ทางสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม จากมหาวิทยาลัย 
สวนดุสิต ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาโครงการในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมปีติพงศ์ พึ่งบุญ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจ 
จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 
ข้อมูล ณ ปีการศึกษา 2565  
(วันที่ 31 มีนาคม 2566) 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2023/2553  นำเสนอ 2
17.2.3International collaboration data gathering for SDG17.2.3.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ภายใต้คณะทำงานของศูนย์การศึกษาพิเศษ  
ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการศึกษาพิเศษกับปลัดกระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเดินทางไปนิเทศติดตามการสอนของครูและการบริหารงานการศึกษาพิเศษของบุคลากรทางการศึกษาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามโครงการ Education for Children with Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563-2565) โดยความร่วมมือระหว่างกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ (TICA) กระทรวงการต่างประเทศ กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

ลิงก์เผยแพร่
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212 
นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
17.2.3.4 
Suanpang P., Niamsorn C., Pothipassa P., Chunhapataragul T., Netwong T., Jermsittiparsert K. (2022). Extensible Metaverse Implication for a Smart Tourism City, Sustainability, 14(21), 14027; https://doi.org/10.3390/su142114027 

หลักฐาน
17.2.3.4 Extensible Metaverse Implication for a Smart Tourism City.pdf 
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/21/14027 นำเสนอ 2
17.2.4Collaboration for SDG best practice17.2.4.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsible Tourism) ภายใต้หน่วยงาน REBORN (Responsible Borneo) ซาราวัก มาเลเซีย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ด้านการท่องเที่ยวของประเทศมาเลเซีย REBORN มีพันธกิจสำคัญที่มุ่งส่งเสริม 
การท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม สังคมได้รับประโยชน์สูงสุด และ ไม่มีใครถูกทอดทิ้งละเลย ความยากจนหรือคนด้อยโอกาส หรือสังคมที่ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ Responsible Tourism Blueprint for Tourism and Hospitality Industry in Sarawak มีพื้นฐานมาจากการพัฒนาอย่างยั่งยืน SDGs เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการยกระดับสู่การพัฒนาเป็นรูปแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาพรวมต่อไป 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.searanetwork.org/committee นำเสนอ 1

comment
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายการพัฒนา
การท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsible Tourism) ภายใต้หน่วยงาน REBORN (Responsible Borneo) ซาราวัก มาเลเซีย
—————————————————————————————————————————
17.2.4.2 
Su Z., Wen R., Zeng Y., Ye K., Khotphat T. (2022). The Influence of Seasonality on the Sustainability of Livelihoods of Households in Rural Tourism Destinations, Sustainability, 14(17), 10572; https://doi.org/10.3390/su141710572 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/17/10572 นำเสนอ 2
17.2.5Collaboration with NGOs to tackle the SDGs through: student volunteering programmes, research programmes, or development of educational resources.() student volunteering programmes
(x) research programmes
(x) development of educational resources

17.2.5.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้หารือกับเครือข่าย Thai Network for Disaster Resilience (TNDR) เพื่อยกระดับความร่วมมือแบบบูรณาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเพิ่มขีดความสามารถด้านการจัดการภัยพิบัติให้กับประเทศไทย โดยมีกิจกรรมที่จะดำเนินการร่วมกัน ทั้งในส่วนด้านวิชาการที่เป็นวิชาการเฉพาะด้านระดับหลักสูตร และงานวิชาการระดับมหาวิทยาลัย ทั้งวิชาหมวดการศึกษาทั่วไป หลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว และการบูรณาการงานที่เป็นความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ด้านอาหาร การบริการ การพยาบาล การศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านกฎหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการสาธารณภัยในระดับประเทศ ซึ่งเป็นภัยใกล้ตัวเราที่มีความรุนแรงและความถี่มากขึ้นในปัจจุบัน  
ข้อมูล ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2565  

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1009500.html นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
แผนงานการวิจัย 
17.2.5.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดย สวนดุสิตโพล ได้ร่วมกับมูลนิธิอนุรักษ์ ช้างและสิ่งแวดล้อม และองค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก ประเทศไทย ร่วมนำเสนอผลสำรวจความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานช้าง และการทารุณกรรมช้างในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในงานแถลงข่าว “ถึงเวลาคนไทยเลิกขี่ช้าง-ดูโชว์ช้าง” พร้อมทั้ง เข้าร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล และมุมมองในประเด็น “สวัสดิภาพช้าง ตลอดจนร่วมเสนอแนะแนวทางปรับปรุงพัฒนาต่อภาครัฐและภาคเอกชน” ในวันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 2 โรงแรมศิวเทล ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2022/2023 นำเสนอ 2
17.3Publication of SDG reports
ลิงก์เผยแพร่
ลิงก์เผยแพร่
17.3.1Please indicate if your university publishes progress against SDG1() student volunteering programmes
(x) research programmes
(x) development of educational resources

https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://guidance.dusit.ac.th/WEB/suan-dusit-enhances-opportunity-project นำเสนอ 2
17.3.2 Please indicate if your university publishes progress against SDG2https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3258/ นำเสนอ 2
17.3.3Please indicate if your university publishes progress against SDG3https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2021/1727/ นำเสนอ 2
17.3.4Please indicate if your university publishes progress against SDG4https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://regis.dusit.ac.th/main/?page_id=3230 นำเสนอ 2
17.3.5Please indicate if your university publishes progress against SDG5https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sway.office.com/Y2SK7BuWITzM7ALN นำเสนอ 2
17.3.6Please indicate if your university publishes progress against SDG6https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://envcenter.dusit.ac.th/?page_id=359 นำเสนอ 2

comment
การดำเนินงานตามหลักเกณฑ์สานักงานสีเขียว (Green Office): หมวดที่ 4
17.3.7Please indicate if your university publishes progress against SDG7https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://envcenter.dusit.ac.th/?page_id=362 นำเสนอ 2
17.3.8Please indicate if your university publishes progress against SDG8https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sdufund.dusit.ac.th/ นำเสนอ 2
17.3.9Please indicate if your university publishes progress against SDG9https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://www.facebook.com/ubisdu/?locale=th_TH นำเสนอ 2
17.3.10Please indicate if your university publishes progress against SDG10https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://www.dusit.ac.th/home/universal-design นำเสนอ 2
17.3.11Please indicate if your university publishes progress against SDG11https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/3348/ นำเสนอ 2
17.3.12Please indicate if your university publishes progress against SDG12https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/4941/ นำเสนอ 2
17.3.13Please indicate if your university publishes progress against SDG13https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://envcenter.dusit.ac.th/?page_id=362 นำเสนอ 2
17.3.14Please indicate if your university publishes progress against SDG14https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
http://thmdusit.dusit.ac.th/main/research-extension/ นำเสนอ 2
17.3.15Please indicate if your university publishes progress against SDG15https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://www.facebook.com/profile.php?id=100057077125390 นำเสนอ 2
17.3.16Please indicate if your university publishes progress against SDG16https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://www.facebook.com/mediationdusit/ นำเสนอ 2
17.3.17Please indicate if your university publishes progress against SDG17https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ 1
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212 นำเสนอ 2
17.4Education for the SDGs
17.4.1Education for SDGs commitment to meaningful education17.4.1.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้กำหนดรายวิชาในหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education) ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2564 โดยมุ่งมั่นที่จะให้นักศึกษาทุกคนในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ โดยกำหนดให้มีรายวิชาที่เกี่ยวข้อง คือ รายวิชาวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจหมุนเวียน ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตยังได้กำหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว จุดเน้นสวนดุสิต พ.ศ. 2563-2567 โดยกำหนดจุดมุ่งเน้นเชิงกลยุทธ์ความหลากหลายทางการศึกษา ด้วยการกำหนดให้มีการพัฒนาหลักสูตรที่ท้าทายเพื่อความยั่งยืน 
     นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้มีการทบทวนทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว (2566-2567)  
โดยการนำความรู้ความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ รวมถึง ความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยมาเติมเต็มรากฐานให้สมบูรณ์และต่อยอดการพัฒนามหาวิทยาลัยให้เจริญงอกงาม มุ่งมั่นสู่การพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และสังคมให้เกิดความยั่งยืน โดยการขยายโอกาสเพื่อผลลัพธ์ที่ยั่งยืนด้วยการสร้างเสถียรภาพขององค์กรทั้งในมิติของความอยู่รอดและการพัฒนาที่ยั่งยืน และสร้างพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) 

ลิงก์เผยแพร
https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2022/03/1614917883_หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป-ฉบับปรับปรุง-พ.ศ.2564-1.pdf  นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
17.4.1.2 ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับ SDGs ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

หลักฐาน
17.4.1.2 สรุปรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs 

ลิงก์เผยแพร่
https://sdg.dusit.ac.th/2023/4543/  นำเสนอ 2
17.4.2
Education for SDGs: specific courses on sustainability
17.4.2.1 ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับ SDGs ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

หลักฐาน
17.4.2.1 สรุปรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs

ลิงก์เผยแพร่
https://sdg.dusit.ac.th/2023/4543/  นำเสนอ
17.4.3Education for SDGs in the wider community() alumni
(X) local community
(X) displaced people and refugees

ชาวบ้านในท้องถิ่น 
17.4.3.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต  โดย “หอมขจรฟาร์ม” สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การปลูกและดูแลเมลอนในโรงเรือน” ภายใต้โครงการ “การพัฒนากลุ่มเครือข่ายเกษตรปลอดภัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รุ่นที่ 1”  
ในวันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565  ณ อาคาร SDU Library มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี เพื่อถ่ายทอด 
องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ด้านการปลูกพืชมูลค่าสูงในโรงเรือนตามแนวทางเกษตรปลอดภัยให้แก่เกษตรกร 
ในเขตพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยเนื้อหาภายในหลักสูตรประกอบไปด้วย การอบรมทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 
ด้านการเลือกใช้โรงเรือนที่เหมาะสม ในการปลูกเมลอน การออกแบบระบบน้ำ การปลูกและดูแลเมลอนในแต่ละระยะ 
การเจริญเติบโต อาทิเช่น การให้น้ำ  การให้ปุ๋ย การทำหวาน การเก็บเกี่ยวผลผลิต ตลอดจนการป้องกันและกำจัดโรค เป็นต้น ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวนี้ ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ของ “หอมขจรฟาร์ม” ได้แก่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และมหาวิทยาลัยสวนดุสิตวิทยาเขตสุพรรณบุรี 
ข้อมูล ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/947897.html  นำเสนอ 1
—————————————————————————————————————————
ผู้พลัดถิ่น 
17.4.3.6 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) (สคช.) และองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM)  
ได้ร่วมกันพัฒนาทักษะแรงงานข้ามชาติ อาชีพแม่บ้านในโรงแรม (Housekeeper) ของโรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพมหานคร  
ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ และได้รับการรับรองด้วยประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรม โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ โดยโครงการความร่วมมือนี้ เป็นกิจกรรมภายใต้โครงการบรรเทา ความยากจนผ่านการพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อการโยกย้ายถิ่นฐานที่ปลอดภัย ในสถานการณ์ปกติของกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และไทย เน้นการช่วยส่งเสริมให้แรงงานต่างด้าวได้รับการพัฒนาทักษะที่เหมาะสม และสร้างโอกาสในการเคลื่อนย้ายผ่านช่องทางที่ถูกกฎหมายต่อไป โดยโครงการได้รับการสนับสนุน ด้านงบประมาณจาก Swiss Agency for Development and Cooperation (SDC) มีวัตถุประสงค์ในการสร้างความเข้มแข็งในการเชื่อมโยงแรงงานย้ายถิ่นและการลดความยากจนในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นความร่วมมือด้านการจ้างงานและการพัฒนาทักษะแรงงาน เข้าถึงการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่เป็นทางการที่มีความเทียบเท่ากับคุณวุฒิทางการศึกษา รวมถึงการจ้างงานและการคุ้มครองแรงงานที่มีจริยธรรม เพื่อสร้างโอกาสให้แรงงานต่างด้าวเข้าสู่การโยกย้ายถิ่นฐานที่ปลอดภัยและการจ้างงานที่มีคุณค่า ได้รับการรับรองทักษะ ความรู้ ความสามารถในการทำงานที่สั่งสมเรียนรู้จากประสบการณ์ทำงานจริงให้ได้รับเป็นการรับรองมาตรฐานอาชีพ และการได้รับคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ที่จะสามารถเป็นเครื่องยืนยันความสามารถในการทำงานที่ได้มาตรฐาน เป็นมืออาชีพในการทำงานอย่างแท้จริง 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.tpqi.go.th/th/new2-detail/Mmy0AJx4rQRWewEb3Q/nKq4otWewEb3QWewEb3Q นำเสนอ 2

ข้อมูลเก่าก่อนนำเข้าระบบ

No.IndicatorResult
17.2Relationships to support the goals
17.2.1Relationships with NGOs and government for SDG policy17.2.1.1 โครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงาน ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มหาวิทยาลัยสวนดุสิตร่วมมือกับกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (TICA) ดำเนินโครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มีการร่วมมือในการร่วมวางแผนการดำเนินงาน 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ในการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษาพิเศษ หลังจากเสร็จสิ้นการอบรม บุคลากร ผู้เข้าอบรมได้นำความรู้ไปพัฒนางานด้านการศึกษาพิเศษ ของ สปป. ลาว โดยบุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเดินทางไป สปป. ลาว เพื่อนิเทศติดตามผู้ผ่านการอบรมเป็นรายบุคคล โดยให้ข้อเสนอแนะ เทคนิควิธีการในการจัดการส่งเสริมและพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ในบริบทของ สปป. ลาว รวมทั้งได้มีการเข้าพบผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการและกีฬาเพื่อรับทราบสภาพปัญหาและความต้องการในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ รวมถึงการหารือเกี่ยวกับการจัดให้มีกฎหมายและนโยบายในการจัดการศึกษาพิเศษ เพื่อให้การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและเด็กด้อยโอกาสใน สปป.ลาว ได้รับการศึกษา 

ลิงก์เผยแพร่
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212  นำเสนอ 1

17.2.1.5 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม ได้เข้าร่วมการประชุม Focus Group เพื่อให้ความคิดเห็นต่อ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy มีการนำเสนอ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy ที่ได้มีการปรับปรุงจากฉบับเดิม และนำเสนอข้อคิดเห็นเพื่อนำไปปรับปรุงหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy ให้สามารถนำไปใช้ตรวจประเมินเพื่อให้การรับรองผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ผลิตสินค้าจากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานการอนุรักษ์ ตามหลักการ สพภ. 3 ประการ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ภายใต้ “หลักการ BEDO – BCG”  ซึ่งการประชุมฯ ดำเนินการภายใต้ “โครงการพัฒนาหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy” ทางสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม จากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาโครงการในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมปีติพงศ์ พึ่งบุญ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 
ข้อมูล ณ ปีการศึกษา 2565  
(วันที่ 31 มีนาคม 2566) 

ลิงก์เผยแพร่
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2023/2553 นำเสนอ 2

—————————————————————————————-

17.2.1.1 โครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มหาวิทยาลัยสวนดุสิตร่วมมือกับกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (TICA) ดำเนินโครงการ Education for Children Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563 – 2565) มีการร่วมมือในการร่วมวางแผนการดำเนินงาน 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ในการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษาพิเศษ หลังจากเสร็จสิ้นการอบรม บุคลากร ผู้เข้าอบรมได้นำความรู้ไปพัฒนางานด้านการศึกษาพิเศษ ของ สปป. ลาว โดยบุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเดินทางไป สปป. ลาว เพื่อนิเทศติดตาม ผู้ผ่านการอบรมเป็นรายบุคคล โดยให้ข้อเสนอแนะ เทคนิควิธีการในการจัดการส่งเสริมและพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ในบริบทของ สปป. ลาว รวมทั้ง ได้มีการเข้าพบผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการและกีฬา เพื่อรับทราบสภาพปัญหาและความต้องการในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ รวมถึงการหารือเกี่ยวกับการจัดให้มีกฎหมายและนโยบายในการจัดการศึกษาพิเศษ เพื่อให้การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและเด็กด้อยโอกาสใน สปป.ลาว ได้รับการศึกษา 

ลิงก์เผยแพร่
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212 
 – https://www.dusit.ac.th/home/2022/1026899.html 
 – https://www.dusit.ac.th/home/2023/1055696.html  
https://m.facebook.com/saranromradio/videos/โครงการเด็กพิเศษใน-สปปลาว-ตอนที่-1-คุยกับผู้เชี่ยวชาญ-มสวนดุสิต/662923049090556/?_rdr 
—————————————————————————————-

17.2.1.2 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับจังหวัดสุพรรณบุรี และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมประชุมเพื่อการพัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยในพื้นที่และสามารถตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรี รวมถึงการแลกเปลี่ยนแนวทางการสื่อสารแบรนด์จังหวัดสุพรรณบุรีผ่านมาสคอตน้องเหน่อ การพัฒนาอัตลักษณ์แบรนด์น้องเหน่อและระบบจัดการ ข้อกำหนดการขอรับแบรนด์น้องเหน่อเพื่อสื่อสารแบรนด์จังหวัดสุพรรณบุรี  โดยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลการพัฒนาแผนการสื่อสารแบรนด์น้องเหน่อ ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี 
ข้อมูล ณ วันที่ 8 ธ.ค. 2565 

หลักฐา
17.2.1.2.1 บทความวิจัยการสื่อสารการตลาดของมาสคอตน้องเหน่อเพื่อส่งเสริมแบรนด์จังหวัดสุพรรณบุรี 
17.2.1.2.2 คู่มือองค์ความรู้มาสคอตน้องเหน่อ.pdf  ข้อมูลนำเสนอ
 
ลิงก์เผยแพร่
https://www.mhesi.go.th/index.php/news/8296-2022-12-08-14-20-20.html 
– https://www.dusit.ac.th/home/2022/1034269.html 
– https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/download/264271/177297 
http://eresearch.dusit.ac.th/module/main/ResearchDataSelect.aspx?doc_id=732BF6D8-EC1F-4340-94CC-0FB20B2C7F73 
—————————————————————————————-

17.2.1.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ กับองค์กรกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สำนักงานประเทศไทย (World Wide Fund for Nature International: WWF) ณ ห้องประชุมสำนักงานมหาวิทยาลัย ชั้น 5 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2565  
ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 

ลิงก์เผยแพร่
– https://www.dusit.ac.th/home/2022/1023572.html 
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1061657.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.1.4 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับมูลนิธิเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติในประเทศไทยเพื่อสร้างความพร้อมและความร่วมมือแบบบูรณาการในการรองรับการทำงานกับทุกภาคส่วนที่มีบทบาทร่วมกันในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันนำไปสู่วิถีชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุม ชั้น 5 อาคารสำนักงานมหาวิทยาลัย 
ข้อมูล ณ วันที่ 25 พ.ค. 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/972572.html 
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1009500.html 
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1114259.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.1.5 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม ได้เข้าร่วมการประชุม Focus Group เพื่อให้ความคิดเห็นต่อ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy มีการนำเสนอ (ร่าง) เกณฑ์ข้อกำหนดการรับรองตรา BioEconomy ที่ได้มีการปรับปรุงจากฉบับเดิม และนำเสนอข้อคิดเห็นเพื่อนำไปปรับปรุงหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy ให้สามารถนำไปใช้ตรวจประเมินเพื่อให้การรับรองผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่ผลิตสินค้าจากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานการอนุรักษ์ ตามหลักการ สพภ. 3 ประการ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ภายใต้ “หลักการ BEDO – BCG” ซึ่งการประชุมฯ ดำเนินการภายใต้ “โครงการพัฒนาหลักเกณฑ์ข้อกำหนดตรา BioEconomy” ทางสวนดุสิตโพล และศูนย์สิ่งแวดล้อม จากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาโครงการในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมปีติพงศ์ พึ่งบุญ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 
ข้อมูล ณ ปีการศึกษา 2565 (วันที่ 31 มีนาคม 2566) 

ลิงก์เผยแพร่
https://suandusitpoll.dusit.ac.th/2023/2553
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.1.6 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาลำปาง ในฐานะที่ปรึกษาการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดลำปาง ได้สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2566 – 2570 เพื่อมุ่งสู่ เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด “ลำปางเมืองแห่งการเรียนรู้ เชื่อมโยง สร้างสรรค์ น่าอยู่ ยั่งยืน” ประกอบด้วย (1) บทวิเคราะห์การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของจังหวัด (SWOT Analysis) (2) เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด (3) ตัวชี้วัดความสำเร็จตามเป้าหมายพัฒนาจังหวัด และ (4) ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดลำปาง ดังรายละเอียดในวาระการประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดลำปาง (ก.บ.จ.ลำปาง) หน้า 366-374 ในแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2566 – 2570 

หลักฐา
17.2.1.6.1 แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2566 – 2570 

ลิงก์เผยแพร่
https://lampang.dusit.ac.th/lampanglearningcity/wp-content/uploads/2022/02/แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง-5-ปี-66-70.pdf 
https://lampang.dusit.ac.th/w2021/การประชุมปรึกษาหารือเพ/ 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.1.7 ภาคีเครือข่ายความร่วมมือโครงการความร่วมมือทางการศึกษา “1+2+1” สำหรับการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศธุรกิจจีน-อาเซียน ประกอบด้วย (1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2)  มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และ  
(3) มหาวิทยาลัยกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยโครงการความร่วมมือทางการศึกษา “1+2+1” สำหรับการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจจีน-อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาเครือข่ายองค์กรแห่งการเรียนรู้ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติที่มุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาซึ่งช่วยให้เกิดการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ได้แก่ (1) ด้านภาษา (Linguistic Intelligence) (2) ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical – Mathematical Intelligence) และ (3) ด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence) โดยการพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว สถานศึกษา สภาพแวดล้อม และเทคโนโลยี และสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ด้วยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานการศึกษาชั้นนำ ทั้งในและต่างประเทศ โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประเทศไทย และมหาวิทยาลัยกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีนมีส่วนร่วมในการยกระดับการจัดการศึกษาของประเทศไทยและเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพและมีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของสังคมโลก 

ลิงก์เผยแพร่
https://lord.obec.go.th/main/mou-121/  
https://www.dusit.ac.th/home/2022/942047.html  
https://vpr.obec.go.th/2021/?p=238  
https://vpr.obec.go.th/2021/?p=1205  ลิงค์ใช้ไม่ได้
—————————————————————————————-
 
 17.2.1.8 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ลงนามบันทึกข้อตกลง MOU ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนหรือร่วมกันดำเนินกิจกรรมทางวิชาการ การศึกษาวิจัย การบริการวิชาการ การพัฒนาบุคลากรและฝึกอบรม การเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ หรือการกำหนดแนวทางนโยบาย ที่เกี่ยวกับกฎหมาย การบริหารงานยุติธรรม สังคมศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง การพัฒนาคุณภาพนิสิต นักศึกษา  และเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของทั้งสองหน่วยงานให้เพิ่มขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานตามความเชี่ยวชาญ
ข้อมูล ณ วันที่ 2 ธันวาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1031971.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.1.9 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลด้านเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ระหว่าง สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยความร่วมมือในครั้งนี้ เป็นการผนึกกำลังดำเนินการเกี่ยวกับการต่อยอด CiRA CORE แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ (AI) สัญชาติไทย เพื่อการวิจัยพัฒนา การศึกษา และการประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร ช่วยควบคุมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ ณ  HACKaTHAILAND Venue @TRUE DIGITAL PARK วันที่ 29 มีนาคม 2565 
ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/959028.html
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body have direct involvement in, or input into, national government or regional non-government organisations SDG policy development
17.2.2Cross sectoral dialogue about SDGs17.2.2.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน (คปอ.)  ได้จัดกิจกรรม “Net Zero in Actions: แนวทางและปัจจัยความสำเร็จของมหาวิทยาลัยไทย” เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) แก่นักศึกษาและบุคลากรเพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้ง บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และศูนย์การศึกษา ในการร่วมกันพัฒนาเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก จากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญของการพัฒนามหาวิทยาลัยที่สวยงาม สะอาด ปลอดภัย (Green & Clean University) ตามทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว (SDU direction: Small but Smart) โดยได้จัดเวทีเสวนาแบ่งปันองค์ความรู้ในมิติมุมมองภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดย คุณนารีรัตน์ ธนะเกษม ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาศักยภาพและเผยแพร่องค์ความรู้องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ดร.ณัฐกร ไกรกุล ผู้จัดการฝ่าย Decarbonization Center of Excellence บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และคุณเปรม พฤกษ์ทยานนท์ กรรมการผู้จัดการบริษัทกรีนทูเก็ต จำกัด และเจ้าของเพจลุงซาเล้งกับขยะที่หายไป ณ ห้องประชุมอาคารสำนักงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ชั้น 5 
ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธ.ค. 2565  

หลักฐาน
17.2.2.1 Net Zero in Actions แนวทางและปัจจัยความสำเร็จของมหาวิทยาลัยไทย 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.naewna.com/local/698101 
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1032155.html  นำเสนอ 1
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2023/2553 นำเสนอ 2


ข้อเสนอแนะ
ลองพิจารณางานต่างๆเหล่านี้ดูค่ะ
867003.html
1032155.html
 
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้ดำเนินการปรับแก้ไขตามคำแนะนำของท่านรองแล้วค่ะ
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.2.2 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดกิจกรรมนำเสนอผลงานวิจัย “การสื่อสารแบรนด์จังหวัดสุพรรณบุรีผ่านมาสคอตน้องเหน่อ” เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยได้รับเกียรติจาก คุณณัฐภัทร สุวรรณประทีป ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ผู้บริหารจากภาครัฐ ภาคเอกชน กลุ่มชมรม ชุมชน วิสาหกิจชุมชน และภาคประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี รวมทั้งผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมในครั้งนี้ถือเป็นการเปิดโอกาสในการต่อยอดงานวิจัยและสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และ ภาคีเครือข่ายในการร่วมกันสร้าง “แบรนด์น้องเหน่อ” ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนเป็นที่รู้จักทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ 
ข้อมูล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1034262.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.2.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยศูนย์การศึกษาลำปาง ร่วมการประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการด้านแรงงานจังหวัดลำปาง (พ.ศ. 2566-2570) ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหรือผู้แทน ภาคเอกชน และประชาชน รวม 30 คน 
ข้อมูล ณ วันที่ 1 มี.ค. 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.mol.go.th/news/จัดการประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการด้านแรงงานจังหวัดลำปาง-พ-ศ-2566-2570  ลิงค์ใช้ไม่ได้
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body initiate and participate in cross-sectoral dialogue about the SDGs, e.g. conferences involving government/NGOs?
17.2.3International collaboration data gathering for SDG17.2.3.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ภายใต้คณะทำงานของศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการศึกษาพิเศษกับปลัดกระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเดินทางไปนิเทศติดตามการสอนของครูและการบริหารงานการศึกษาพิเศษของบุคลากรทางการศึกษาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามโครงการ Education for Children with Special Needs Development ภายใต้แผนงานความร่วมมือพัฒนาไทย – ลาว ระยะ 3 ปี (2563-2565) โดยความร่วมมือระหว่างกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ (TICA) กระทรวงการต่างประเทศ กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1026899.html 
https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/โครงการ-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212 

https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3-education-for-children-with-special-needs?page=60ebff6eaba9400bb20ffa93&menu=60ebff4530db7a4318146212
นำเสนอ 1

https://www.mdpi.com/2071-1050/14/21/14027 นำเสนอ 2

ข้อเสนอแนะ
ไม่สามารถดูรายละเอียดได้ว่าที่นำเสนอเป็นความร่วมมือระดับนานาชาติหรือไม่ค่ะ แต่ลองดูเรื่องนี้ด้วยนะคะว่าใช้ได้ไหม
1026899.html
 
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้ดำเนินการปรับแก้ไขตามคำแนะนำของท่านรองแล้วค่ะ
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.3.2 Su Z., Wen R., Zeng Y., Ye K., Khotphat T. (2022). The Influence of Seasonality on the Sustainability of Livelihoods of Households in Rural Tourism Destinations, Sustainability, 14(17), 10572; https://doi.org/10.3390/su141710572 

หลักฐาน
17.2.3.2 The Influence of Seasonality on the Sustainability of Livelihoods of Households in Rural Tourism Destinations.pdf 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/17/10572 





ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.3.3 Suanpang P., Jamjuntr P., Jermsittiparsert K., Kaewyong,  P. (2022). Tourism Service Scheduling in Smart City Based on Hybrid Genetic Algorithm Simulated Annealing Algorithm, Sustainability, 14(23), 16293; https://doi.org/10.3390/su142316293 

หลักฐาน
17.2.3.3 Tourism Service Scheduling in Smart City Based on Hybrid Genetic Algorithm Simulated Annealing Algorithm.pdf 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/23/16293 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.3.4 Suanpang P., Niamsorn C., Pothipassa P., Chunhapataragul T., Netwong T., Jermsittiparsert K. (2022). Extensible Metaverse Implication for a Smart Tourism City, Sustainability, 14(21), 14027; https://doi.org/10.3390/su142114027 

หลักฐาน
17.2.3.4 Extensible Metaverse Implication for a Smart Tourism City.pdf 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/21/14027 
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body participate in international collaboration on gathering or measuring data for the SDGs?
17.2.4Collaboration for SDG best practice17.2.4.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายการพัฒนา 
การท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsible Tourism) ภายใต้หน่วยงาน REBORN (Responsible Borneo) ซาราวัก มาเลเซีย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ด้านการท่องเที่ยวของประเทศมาเลเซีย REBORN มีพันธกิจสำคัญที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม สังคมได้รับประโยชน์สูงสุด และไม่มีใครถูกทอดทิ้งละเลย ความยากจนหรือคนด้อยโอกาส หรือสังคมที่ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ Responsible Tourism Blueprint for Tourism and Hospitality Industry in Sarawak มีพื้นฐานมาจากการพัฒนาอย่างยั่งยืน SDGs เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการยกระดับสู่การพัฒนาเป็นรูปแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาพรวมต่อไป 

ลิงก์เผยแพร่
https://sdg.dusit.ac.th/2023/2771/  
https://www.searanetwork.org/committee  
https://www.responsibleborneo.com/conferencecommitteeicrth2022 

https://www.searanetwork.org/committee นำเสนอ 1
https://www.mdpi.com/2071-1050/14/17/10572 นำเสนอ 2

comment
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.อังค์ริสา แสงจำนงค์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายการพัฒนา
การท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsible Tourism) ภายใต้หน่วยงาน REBORN (Responsible Borneo) ซาราวัก มาเลเซีย
—————————————————————————————-

ข้อเสนอแนะ
ตัวนี้ปีที่ผ่านมาได้แค่ 33.3 น่าจะหางานวิจัยเชิง comparative study
 
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้ดำเนินการเสนอหลักฐานใหม่เพื่อเสนอพิจารณาแล้วค่ะ
 ข้อมูลนำเสนอ
 —————————————————————————————-

17.2.4.2 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายความร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนแห่งประเทศไทย (Sustainable University) ซึ่งเป็นเวทีสำคัญสำหรับการกำหนดแนวนโยบายเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืน การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 

หลักฐาน
17.2.4.2-1 สรุปการประชุม SUN THAILAND 20-21 ม.ค. 65.pdf 
17.2.4.2-2 สรุปการประชุม SUN THAILAND 27-28 ต.ค. 65.pdf 
17.2.4.2-3 สรุปการประชุม ทปอ. 17 ธ.ค. 65.pdf 
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body, through international collaboration and research, review comparative approaches and develop international best practice on tackling the SDGs?
17.2.5Collaboration with NGOs to tackle the SDGs through: student volunteering programmes, research programmes, or development of educational resources.() student volunteering programmes
(x) research programmes
(x) development of educational resources

17.2.5.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้หารือกับเครือข่าย Thai Network for Disaster Resilience (TNDR) เพื่อยกระดับความร่วมมือแบบบูรณาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเพิ่มขีดความสามารถด้านการจัดการภัยพิบัติให้กับประเทศไทย โดยมีกิจกรรมที่จะดำเนินการร่วมกัน ทั้งในส่วนด้านวิชาการที่เป็นวิชาการเฉพาะด้านระดับหลักสูตร และงานวิชาการระดับมหาวิทยาลัย ทั้งวิชาหมวดการศึกษาทั่วไป หลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว และการบูรณาการงานที่เป็นความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ด้านอาหาร การบริการ  
การพยาบาล การศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านกฎหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการ 
สาธารณภัยในระดับประเทศ ซึ่งเป็นภัยใกล้ตัวเราที่มีความรุนแรงและความถี่ 
มากขึ้นในปัจจุบัน  
ข้อมูล ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2565

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/1009500.html นำเสนอ 1
https://dusitpoll.dusit.ac.th/2022/2023 นำเสนอ 2
—————————————————————————————-

โครงการจิตอาสาของนักศึกษา 
17.2.5.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยศูนย์การศึกษา นครนายก และศูนย์ช่วยเหลือสัตว์ป่าภาคกลาง ร่วมจัดกิจกรรมจิตอาสา “ล้างกรงเสือ กวาดกรงหมี ทำดีเพื่อสัตว์ป่า” มีวัตถุประสงค์เพื่อทำกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ เช่น ทำความสะอาดกรงเสือและกรงหมี การประกอบอาหารให้สัตว์ป่า ณ ศูนย์ช่วยเหลือสัตว์ป่าภาคกลาง โดยมีอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จากทั้งกรุงเทพมหานคร สุพรรณบุรี ลำปาง และนครนายก เข้าร่วมในงานกิจกรรม  ในวันที่ 30 เมษายน 2565 ณ ศูนย์ช่วยเหลือสัตว์ป่าภาคกลาง ตำบลเขาพระ อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 

ลิงก์เผยแพร่
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา นครนายก จัดกิจกรรมจิตอาสา “ล้างกรงเสือ กวาดกรงหมี ทำดีเพื่อสัตว์ป่า”

ข้อเสนอแนะ
ข้อนี้ปีที่แล้วได้แค่ 44.3
โครงการวิจัย-เรื่อง-ยุท
 
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้พยายามเลือกหลักฐานที่มีแนวทางเป็นไปได้ เพื่อเสนอพิจารณาแล้วค่ะ
ข้อมูลนำเสนอ
 —————————————————————————————-

17.2.5.2 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ ได้ส่งมอบหนังสือเสียงรวม 28 เรื่อง จากความร่วมมือของบุคลากรและนักศึกษาทุกหลักสูตรในโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ ให้กับมูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย  
ในพระบรมราชินูปถัมภ์ในโครงการจิตอาสาพาน้องเที่ยว Read for the Blind เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 
ข้อมูล ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
http://thmdusit.dusit.ac.th/main/โครงการจิตอาสาพาน้องเท-2/ 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

แผนงานการวิจัย 
17.2.5.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสวนดุสิตโพล ได้ร่วมกับมูลนิธิอนุรักษ์ช้างและสิ่งแวดล้อม และองค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก ประเทศไทย ร่วมนำเสนอผลสำรวจความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานช้าง และการทารุณกรรมช้างในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในงานแถลงข่าว “ถึงเวลาคนไทยเลิกขี่ช้าง-ดูโชว์ช้าง” พร้อมทั้ง เข้าร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล และมุมมองในประเด็น “สวัสดิภาพช้าง ตลอดจนร่วมเสนอแนะแนวทางปรับปรุงพัฒนาต่อภาครัฐและภาคเอกชน” ในวันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม 1
ชั้น 2 โรงแรมศิวเทล ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ 

ลิงก์เผยแพร่
สวนดุสิตโพล ร่วมนำเสนอผลสำรวจความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่เกี่ยว ข้องกับการใช้งานช้าง และการทารุณกรรมช้างใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
https://www.worldanimalprotection.or.th/sites/default/files/media/Dusit_Poll_Media_Final_Pack.pdf 
https://greennews.agency/?p=31968 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.2.5.4 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยศูนย์การศึกษาลำปาง จัดเวทีระดมความคิดเห็นในโครงการวิจัย เรื่อง “ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนลำปางสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามแนวนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC – Creative LANNA) ด้วยฐานแนวคิด BCG Model” ครั้งที่ 1 ในปีการศึกษา 2565 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2566 ณ หอประชุมชั้น 2 อาคารปฏิบัติการอาหารนานาชาติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง ทั้งนี้ การดำเนินศึกษาภายใต้โครงการวิจัยดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 3 ประเด็น ดังนี้ 
     ประเด็นที่ 1 เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพความพร้อมและฐานข้อมูลจังหวัดลำปาง (Check Stock) เพื่อสนับสนุนและรองรับการขับเคลื่อนลำปางสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามแนวนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC – Creative LANNA) ด้วยฐานแนวคิด BCG Model 
     ประเด็นที่ 2 เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกขับเคลื่อนลำปางสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามแนวนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC – Creative LANNA) ด้วยฐานแนวคิด BCG Model 
     ประเด็นที่ 3 เพื่อนำเสนอยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนลำปางสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามแนวนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC – Creative LANNA) ด้วยฐานแนวคิด BCG Model   
     ในเวทีระดมความคิดเห็นในครั้งนี้  ได้รับพลังความร่วมมือจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญในเวที ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงาน และผู้แทนจาก กลุ่มภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ กลุ่มภาคเอกชน กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัย กลุ่มภาค ประชาสังคม รวมถึงกลุ่มผู้มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนในระดับประเทศและพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาในรูปแบบเดียวกัน เป็นจำนวนกว่า 100 ท่าน 

ลิงก์เผยแพร่
– https://lampang.dusit.ac.th/โครงการวิจัย-เรื่อง-ยุท/  ลิงค์ใช้ไม่ได้
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

การพัฒนาทรัพยากรด้านการศึกษา 
17.2.5.5 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยคณะครุศาสตร์ ลงนามทำสัญญาความร่วมมือกับมูลนิธิทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการปรับปรุงและจัดทำคู่มือ แผนการจัดประสบการณ์ และคู่มือเกมการศึกษาระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3 ) เพื่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ปีการศึกษา 2565 เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2565 ณ มูลนิธิทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ 
ข้อมูล ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
– https://www.dusit.ac.th/main/?p=23790  ลิงค์ใช้ไม่ได้ 
https://www.dusit.ac.th/home/2022/980818.html  
– https://www.dusit.ac.th/home/2022/994902.html  
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body collaborate with NGOs to tackle the SDGs through:
17.3Publication of SDG reports
ลิงก์เผยแพร่
ลิงก์เผยแพร่
17.3.1Please indicate if your university publishes progress against SDG1https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.2 Please indicate if your university publishes progress against SDG2https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.3Please indicate if your university publishes progress against SDG3https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.4Please indicate if your university publishes progress against SDG4https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.5Please indicate if your university publishes progress against SDG5https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.6Please indicate if your university publishes progress against SDG6https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.7Please indicate if your university publishes progress against SDG7https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.8Please indicate if your university publishes progress against SDG8https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.9Please indicate if your university publishes progress against SDG9https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.10Please indicate if your university publishes progress against SDG10https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.11Please indicate if your university publishes progress against SDG11https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.12Please indicate if your university publishes progress against SDG12https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.13Please indicate if your university publishes progress against SDG13https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.14Please indicate if your university publishes progress against SDG14https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.15Please indicate if your university publishes progress against SDG15https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.16Please indicate if your university publishes progress against SDG16https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.3.17Please indicate if your university publishes progress against SDG17https://sdg.dusit.ac.th/2023/3113/ นำเสนอ
17.4Education for the SDGsลิงก์เผยแพร่
ลิงก์เผยแพร่
17.4.1Education for SDGs commitment to meaningful education17.4.1
() integrated across full curriculum
(X) mandatory education for all
() optional education for all

17.4.1.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้กำหนดรายวิชาในหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education) ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2564 โดยมุ่งมั่นที่จะให้นักศึกษาทุกคนในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ โดยกำหนดให้มีรายวิชาที่เกี่ยวข้อง คือ รายวิชาวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจหมุนเวียน ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตยังได้กำหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว จุดเน้นสวนดุสิต พ.ศ. 2563-2567 โดยกำหนดจุดมุ่งเน้นเชิงกลยุทธ์ความหลากหลาย 
ทางการศึกษา ด้วยการกำหนดให้มีการพัฒนาหลักสูตรที่ท้าทายเพื่อความยั่งยืน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มีการทบทวนทิศทางของมหาวิทยาลัย สวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว (2566-2567) โดยการนำความรู้ความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ รวมถึง ความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยมาเติมเต็มรากฐานให้สมบูรณ์และต่อยอดการพัฒนามหาวิทยาลัยให้เจริญงอกงาม มุ่งมั่นสู่การพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และสังคมให้เกิดความยั่งยืน โดยการขยายโอกาสเพื่อผลลัพธ์ที่ยั่งยืนด้วยการสร้างเสถียรภาพขององค์กรทั้งในมิติของความอยู่รอดและการพัฒนาที่ยั่งยืน และสร้างพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) 

ลิงก์เผยแพร่
https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2022/03/1614917883_หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป-ฉบับปรับปรุง-พ.ศ.2564-1.pdf 
https://regis.dusit.ac.th/main/?page_id=4095    
– https://www.dusit.ac.th/home/wp-content/uploads/2020/09/SDUDirections-6367.pdf   
https://www.dusit.ac.th/home/wp-content/uploads/2023/06/ทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต-จิ๋ว-แต่-แจ๋ว-ฉบับทบทวน-.pdf 

https://regis.dusit.ac.th/main/wp-content/uploads/2022/03/1614917883_หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป-ฉบับปรับปรุง-พ.ศ.2564-1.pdf นำเสนอ 1
https://sdg.dusit.ac.th/2023/4543/ นำเสนอ 2
—————————————————————————————-

17.4.1.2 ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับ SDGs ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
 
หลักฐาน
17.4.1.2 สรุปรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs  (สำนักวิทยบริการกำลังดำเนินการรวมไฟล์ที่เกี่ยวข้องเพื่อทำลิ้งก์สำหรับนำเสนอ)
Does your university as a body have a commitment to meaningful education around the SDGs across the university, that is relevant and applicable to all students?
17.4.2
Education for SDGs: specific courses on sustainability
17.4.2.1 ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวกับ SDGs ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

หลักฐาน
17.4.2.1 สรุปรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ SDGs 

https://sdg.dusit.ac.th/2023/4543/ นำเสนอ


ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้นี้น่าจะใช้ข้อมูลที่ได้รับไปในวันก่อนมาตอบได้ ตอบได้ทั้ง full course และ
ที่เป็น elective
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้ดำเนินการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของท่านรองแล้วค่ะ 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.4.2.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมเมืองและอุตสาหกรรม 
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม 
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as a body have dedicated courses (full degrees, or electives) that address sustainability and the SDGs?
17.4.3Education for SDGs in the wider community() alumni
(X) local community
(X) displaced people and refugees


ศิษย์เก่า 
17.4.3.1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยคณะกรรมการงานด้านศิษย์เก่าสัมพันธ์ คณะกรรมการงานด้านบริการวิชาการและพัฒนาองค์กร และหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมกันจัดโครงการ “การอบรมโปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดการสินค้าและการบัญชี” ผ่านทาง Application Zoom เพื่ออบรมพัฒนาความรู้และทักษะด้านการจัดการสินค้า และด้านบัญชีสำหรับธุรกิจออนไลน์ และเป็นการเสริมเพิ่มทักษะเพื่อพัฒนาการประกอบอาชีพ และพัฒนาด้านวิชาการ โดยมีมีศิษย์เก่า นักศึกษา คณาจารย์ ของคณะวิทยาการจัดการ รวมทั้งผู้ประกอบการและผู้สนใจ เข้าร่วมอบรมเป็นจำนวนมาก ในวันที่ 24 มีนาคม 2565 
ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.dusit.ac.th/home/2022/958101.html 

https://www.dusit.ac.th/home/2022/947897.html นำเสนอ

ข้อเสนอแนะ
ข้อนี้ให้เน้นกลุ่มเป้าหมายที่ครอบคลุมทั้งศิษย์เก่า ชุมชนพื้นที่ และคนย้ายถิ่นด้วย
 
แนวทางการปรับแก้ไข
ได้ดำเนินการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของท่านรองแล้วค่ะ
 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.4.3.2 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยศูนย์การศึกษา นครนายก จัดกิจกรรมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ บทเพลงดนตรีหรรษาพัฒนาเด็กปฐมวัย จัดขึ้นโดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย ในรายวิชาสัมมนาทางการศึกษา โดยในการอบรมมีนักศึกษาและศิษย์เก่าให้ความสนใจเข้าอบรมเป็นอย่างมาก ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Microsoft Team 
ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม 2565 

ลิงก์เผยแพร่
http://nakhonnayok.dusit.ac.th/2022/05/35526.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

ชาวบ้านในท้องถิ่น 
17.4.3.3 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดย “หอมขจรฟาร์ม” สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การปลูกและดูแลเมลอนในโรงเรือน” ภายใต้โครงการ “การพัฒนากลุ่มเครือข่ายเกษตรปลอดภัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รุ่นที่ 1” ในวันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 ณ อาคาร SDU Library มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ด้านการปลูกพืชมูลค่าสูงในโรงเรือนตามแนวทางเกษตรปลอดภัยให้แก่เกษตรกรในเขตพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยเนื้อหาภายในหลักสูตรประกอบไปด้วย การอบรมทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติด้านการเลือกใช้โรงเรือนที่เหมาะสม 
ในการปลูกเมลอน การออกแบบระบบน้ำ การปลูกและดูแลเมลอนในแต่ละระยะการเจริญเติบโต อาทิเช่น การให้น้ำ การให้ปุ๋ย การทำหวาน การเก็บเกี่ยวผลผลิต ตลอดจนการป้องกันและกำจัดโรค เป็นต้น ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวนี้ ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย การดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ของ “หอมขจรฟาร์ม” ได้แก่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และมหาวิทยาลัยสวนดุสิตวิทยาเขตสุพรรณบุรี 
ข้อมูล ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565  

ลิงก์เผยแพร่
– https://www.dusit.ac.th/main/?p=15216  ลิงค์ใช้ไม่ได้

https://www.dusit.ac.th/home/2022/947897.html นำเสนอ
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.4.3.4 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยวิทยาเขตสุพรรณบุรี ร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้ห่วงโซ่คุณค่าเกษตรปลอดภัยสำหรับคนทุกวัย โดยใช้แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะเป็นฐาน ระหว่างวันที่ 27-29 เมษายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี 

ลิงก์เผยแพร่
– https://www.dusit.ac.th/main/?p=23262  ลิงค์ใช้ไม่ได้ 
https://www.dusit.ac.th/home/2022/965699.html  
http://suphanburicampus.dusit.ac.th/new/2022/66718/ 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

ประชาชนทั่วไป 
17.4.3.5 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดอบรมเชิงปฏิบัติการบัตเลอร์ (Butler) มืออาชีพ เป็นการต่อยอดความรู้ เทคนิค และทักษะให้กับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการประกอบอาชีพในเส้นทางของบัตเลอร์ เพื่อพัฒนาให้เป็นคนที่สามารถสร้างชื่อเสียง สร้างรายได้เข้าประเทศอย่างยั่งยืน สร้างโอกาสการทำงานต่างประเทศ และโอกาสของประเทศไทยที่เป็นประเทศ ที่น่าอยู่ให้ชาวต่างชาติอยากมาใช้ชีวิตเกษียณ เป็นการสอดรับและสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจนี้ให้ดำเนินไปด้วยดี รวมทั้ง สร้างความยั่งยืนในเรื่องของ Soft Power ด้วยมาตรฐานการบริการที่มีคุณภาพ 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/54746 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

ผู้พลัดถิ่น 
17.4.3.6 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) (สคช.) และองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM)  
ได้ร่วมกันพัฒนาทักษะแรงงานข้ามชาติ อาชีพแม่บ้านในโรงแรม (Housekeeper) ของโรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพมหานคร  
ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ และได้รับการรับรองด้วยประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรม โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ โดยโครงการความร่วมมือนี้เป็นกิจกรรมภายใต้โครงการบรรเทาความยากจนผ่านการพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อการโยกย้ายถิ่นฐานที่ปลอดภัย ในสถานการณ์ปกติของกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และไทย เน้นการช่วยส่งเสริมให้แรงงานต่างด้าวได้รับการพัฒนาทักษะที่เหมาะสม และสร้างโอกาสในการเคลื่อนย้ายผ่านช่องทางที่ถูกกฎหมายต่อไป โดยโครงการได้รับการสนับสนุน ด้านงบประมาณจาก Swiss Agency for Development and Cooperation (SDC) มีวัตถุประสงค์ในการสร้างความเข้มแข็งในการเชื่อมโยงแรงงานย้ายถิ่นและการลดความยากจนในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นความร่วมมือด้านการจ้างงานและการพัฒนาทักษะแรงงาน เข้าถึงการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่เป็นทางการที่มีความเทียบเท่ากับคุณวุฒิทางการศึกษา รวมถึงการจ้างงานและการคุ้มครองแรงงานที่มีจริยธรรม เพื่อสร้างโอกาสให้แรงงานต่างด้าวเข้าสู่การโยกย้ายถิ่นฐานที่ปลอดภัยและการจ้างงานที่มีคุณค่า ได้รับการรับรองทักษะ ความรู้ ความสามารถในการทำงานที่สั่งสมเรียนรู้จากประสบการณ์ทำงานจริงให้ได้รับเป็นการรับรองมาตรฐานอาชีพ และการได้รับคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ที่จะสามารถเป็นเครื่องยืนยันความสามารถในการทำงานที่ได้มาตรฐาน เป็นมืออาชีพในการทำงานอย่างแท้จริง 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.thaipr.net/general/3252038  
– https://prachatai.com/journal/2022/10/100961  
– https://www.tpqi.go.th/th/new2-detail/Mmy0AJx4rQRWewEb3Q/nKq4otWewEb3QWewEb3Q 

https://www.tpqi.go.th/th/new2-detail/Mmy0AJx4rQRWewEb3Q/nKq4otWewEb3QWewEb3Q นำเสนอ

ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.4.3.7
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยสำนักกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเสริมสร้างศักยภาพแรงงาน SME สาขางานบริการ “การเสริมสร้างทักษะให้กับแรงงานของหน่วยแรงงานร้านอาหารและโรงแรมใน สปป.ลาว” ให้กับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานและพัฒนาสังคม สปป.ลาว ณ หอประชุมรักตะกนิษฐ ชั้น 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 

ลิงก์เผยแพร่
https://www.banmuang.co.th/news/education/333461  
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1107617.html  
https://www.dusit.ac.th/home/2023/1108611.html 
ข้อมูลนำเสนอ
—————————————————————————————-

17.4.3.8 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดโครงการกิจกรรม เสริมความเป็นครู “Teacher Skill Development: Growth Mindset” ครูอาสา Teacher Volunteer กิจกรรม “แต้มสี เติมฝัน แบ่งปันความสุข” โดยมีคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะครุศาสตร์ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุพรรณบุรี และศูนย์การศึกษานครนายก เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาพื้นที่ของโรงเรียน ทั้งภาควิชาการ และนันทนาการ โดยมีการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเด็กที่เป็นบุตรของแรงงานต่างด้าว อาทิเช่น การแสดงนิทาน การซ่อมแซมเครื่องเล่นที่ชำรุด และการจัดสภาพแวดล้อมห้องเรียน ณ โรงเรียนวัดสะพาน (ศิษย์สมพงษ์อุทิศ) อ.บ้านนา จ.นครนายก ในปีการศึกษา 2565 เมื่อวันจันทร์ที่ 22 พฤษภาคม 2566 

ลิงก์เผยแพร่
EDUSuandusit
ข้อมูลนำเสนอ
Does your university as body have dedicated outreach educational activities for the wider community, which could include alumni, local residents, displaced people?
goal 1goal 2goal 3goal 4goal 5goal 6goal 7goal 8goal 9goal 10goal 11goal 12goal 13goal 14goal 15goal 16goal 17